หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0325
รหัสหลักสูตร 25481691101632
ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Social Development

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (การพัฒนาสังคม)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts Program in Social Development
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Social Development)

 

ปรัชญา

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มุ่งพัฒนาบัณฑิตที่มีความรู้ มีความสามารถ มีทักษะการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาสังคม และมีคุณธรรมจริยธรรม สามารถนำความรู้ทางด้านการพัฒนาเมืองและชนบท ไปใช้บูรณาการกับการพัฒนาสังคมชุมชน และท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้

  1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ตลอดจนมีภาวะความเป็นผู้นำ สามารถทำงานเป็นทีม
  1. มีความรู้ มีหลักการด้านการพัฒนาสังคม มีทักษะการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาสังคมและนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชุมชน สังคม ท้องถิ่น และประเทศชาติให้เข้มแข็งและยั่งยืน
  1. มีทักษะกระบวนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ประเด็นปัญหาในสังคม วางแผนแก้ไขปัญหาทางสังคมอย่างเป็นระบบ
  1. มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำงานร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมี ความสุขอันจะนำไปสู่สังคมสันติต่อไป 
  2. สามารถนำเสนอสารสนเทศและเทคโนโลยี และสามารถนำเทคโนโลยีไป ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • นักพัฒนาสังคมและนักพัฒนาชุมชน ในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
  • นักวิชาการด้านการวางแผนพัฒนาสังคม และนักวิชาการด้านการวางแผนพัฒนาชุมชนในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
  • นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
  • นักสังคมสงเคราะห์ระดับปฏิบัติการในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
  • นักวิจัยทางด้านการพัฒนาสังคม ในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
  • เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ในหน่วยภาคเอกชน ภาคประชาชน และองค์กรไม่แสวงผลกำไร

 

ระบบการจัดการศึกษา

  1. ระบบ

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาคโดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ  มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า15  สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลา  ไม่น้อยกว่า  8  สัปดาห์

  1. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การจัดการเรียนการสอนภาคเรียนฤดูร้อน  ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรศิลปบัณฑิต  สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ  อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลา  ไม่น้อยกว่า  8  สัปดาห์

  1. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

ไม่มี

 

ระยะเวลาการศึกษา 

  1. ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน 
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ 
  3. ภาคฤดูร้อน เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

  1. จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน

    ให้ลงทะเบียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคการศึกษาฤดูร้อน  หากต้องลงทะเบียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับ  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2561 หมวด 6 (ภาคผนวก  ค)

  2. ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน

    ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี  พ.ศ.2561หมวด 6 (ภาคผนวก  ค)

  3. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 9 และหมวด 10 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตรแบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ดังนี้

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 125  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2552 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเฉพาะ 89 หน่วยกิต
      1. วิชาเอกบังคับ 65  หน่วยกิต
      2. วิชาเอกเลือก 24 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55101

ประวัติศาสตร์การพัฒนาสังคมไทย

3(3-0-6)

SD55102

หลักมานุษยวิทยาและหลักสังคมวิทยา 

3(3-0-6)

SD55103

ประชากรศึกษาเพื่อการพัฒนาสังคม 

3(3-0-6)

SD55104

ทฤษฎีและหลักการพัฒนาสังคม

3(3-0-6)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55105

การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ

3(3-0-6)

SD55106

ชุมชนศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD56XXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

6

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55201

การวิเคราะห์สังคมและแนวทางการพัฒนา

3(3-0-6)

SD55202

เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD56XXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

เลือกเสรี 

XXXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55203

กลุ่มธุรกิจพื้นฐานและวิสาหกิจเพื่อสังคม

3(3-0-6)

SD55204

การวางแผนและโครงการพัฒนาสังคม

3(3-0-6)

SD55205

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

เลือกเสรี 

XXXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา 

รหัสวิชา 

ชื่อวิชา 

จำนวนหน่วยกิต 

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55301 

สถิติสำหรับการวิจัยและการประเมินผล การพัฒนา 

3(2-2-5)

SD55302

การพัฒนาชนบทและการพัฒนาเมือง 

3(2-2-5)

SD55303

การจัดฝึกอบรม 18ประชุม และสัมมนา

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD56XXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา 

รหัสวิชา 

ชื่อวิชา 

จำนวนหน่วยกิต 

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55304

การจัดการเครือข่ายทางสังคม

3(3-0-6)

SD55305

ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์

3(2-2-5)

SD55306

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพการพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD56XXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา 

รหัสวิชา 

ชื่อวิชา 

จำนวนหน่วยกิต 

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55401

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการพัฒนาสังคม

5(-480-)

รวม

5

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา 

รหัสวิชา 

ชื่อวิชา 

จำนวนหน่วยกิต 

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD55402

ภาษาอังกฤษในงานพัฒนาสังคม

3(3-0-6)

SD55403 

การวิจัยเพื่อการพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

SD55404

สัมมนาประเด็นการพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ (เอกบังคับ)

SD56XXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

รวม

12

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ระดับปริญญาตรี

 

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส  
รหัสหลักสูตร 25551691100616
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Chinese Language

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาจีน)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภาษาจีน)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Chinese Language)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Chinese Language)

 

ปรัชญา

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีน พร้อมด้วยความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาจีน ประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ

 

วัตถุประสงค์

เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะดังนี้

  1. มีความรู้ในการใช้ภาษาจีน และมีความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศจีน
  2. มีทักษะในกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์การใช้ภาษาจีนอย่างเหมาะสมและ
    สร้างสรรค์ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
  3. มีความสามารถสื่อสารกับคนในสังคมโดยใช้ภาษาจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ
    รับผิดชอบต่อการทำงาน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น และช่วยเหลือสังคมได้
  4. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
  5. มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ

 

ระบบการจัดการศึกษา

  1. ระบบ

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

  1. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน 

 การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

  1. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

 ไม่มี

 

ระยะเวลาการศึกษา

  1. ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
  3. ภาคฤดูร้อนเดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม 

ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

  1. จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน

ให้ลงทะเบียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อน หากต้องลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561  หมวด 6 (ภาคผนวก ค) 

  1. ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน

ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561    หมวด 6 (ภาคผนวก ค) 

  1. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561  หมวด 9 และ หมวด 10 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ดังนี้

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต

     2.1) วิชาเอกบังคับ  71 หน่วยกิต

CN11101

ภาษาจีน 1

Chinese Language 1

3(2-2-5)

CN11102

ภาษาจีน 2

Chinese Language 2

3(2-2-5)

CN11103

ระบบเสียงภาษาจีน

Phonetic System of Chinese

3(2-2-5)

CN11104

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเทศจีน

Introduction to China

3(3-0-6)
CN11201

ภาษาจีน 3

Chinese Language 3

3(2-2-5)
CN11202

ภาษาจีน 4

Chinese Language 4

3(2-2-5)
CN12101

การฟังและพูดภาษาจีน 1

Chinese Listening and Speaking 1

3(2-2-5)
CN12102

การฟังและพูดภาษาจีน 2

Chinese Listening and Speaking 2

3(2-2-5)
CN12201

การฟังและพูดภาษาจีน 3

Chinese Listening and Speaking 3

3(2-2-5)
CN12202

การฟังและพูดภาษาจีน 4

Chinese Listening and Speaking 4

3(2-2-5)
CN12301

การสนทนาภาษาจีนในการทำงาน

Chinese Conversation in Workplace

3(2-2-5)
CN13201

การอ่านและเขียนภาษาจีน 1

Chinese Reading and Writing 1

3(2-2-5)
CN13202

การอ่านและเขียนภาษาจีน 2

Chinese Reading and Writing 2

3(2-2-5)
CN14201

หลักไวยากรณ์จีน 1

Chinese Grammar 1

3(3-0-6)
CN14301

หลักไวยากรณ์จีน 2

Chinese Grammar 2

3(3-0-6)
CN14302

การแปลภาษาจีน

Chinese Translation

3(2-2-5)
CN15301

ประวัติศาสตร์จีน

Chinese History

3(3-0-6)
CN15302

ศิลปวัฒนธรรมจีน

Chinese Arts and Culture

3(3-0-6)
CN15401

วรรณคดีจีนเบื้องต้นและภาษาจีนโบราณ

Introduction to Chinese Literature And ancient Chinese

3(3-0-6)
CN16302

ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการค้า

Chinese for Trading Business

3(2-2-5)
CN16401

ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว

Chinese for Tourism

3(2-2-5)
CN16402

ภาษาจีนเพื่อการโรงแรม

Chinese for Hotel

3(2-2-5)
CN17401

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านภาษาจีน

Internship in Chinese

5(450)

     2.2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต

CN11105

ภาษาจีนเบื้องต้น

Basic Chinese

3(2-2-5)
CN11106

ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน

Chinese in daily life

3(2-2-5)

CN12302

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารสากล

Chinese for International Communication

3(2-2-5)
CN13101

นิทานและเรื่องสั้นจีน

Chinese tales and Short Stories

3(2-2-5)
CN13301

การอ่านและเขียนภาษาจีน 3

Chinese Reading and Writing 3

3(2-2-5)
CN13302

การเขียนภาษาจีนเชิงธุรกิจ

Chinese Writing for Business

3(2-2-5)
CN13401

การเขียนภาษาจีนเชิงวิชาการ

Chinese Academic Writing

3(2-2-5)
CN14202

วิวัฒนาการอักษรจีน

Evolution of Chinese Characters

2(2-0-4)
CN14203

การสอบวัดระดับภาษาจีนระดับต้น

Chinese for Basic Proficiency Tests

2(1-2-3)
CN14303

การสอบวัดระดับภาษาจีนระดับกลาง

Chinese for Intermediate Proficiency Tests

2(1-2-3)
CN15303

ภาษาจีนจากสื่อโสตทัศน์

Chinese from Media

3(2-2-5)
CN15304

สำนวนและสุภาษิตจีน

Chinese Idioms and Proverbs

3(3-0-6)
CN15402

วรรณกรรมจีนในประเทศไทย

Chinese Literature in Thailand

3(3-0-6)
CN16301

การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ

Teaching Chinese as a Foreign Language

3(2-2-5)
CN16303

ภาษาจีนเพื่อธุรกิจออนไลน์

Chinese for online business

3(3-0-6)
CN16304

ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มในโรงแรม

Chinese for Food and Beverage Management in Hotel Industry

3(3-0-6)
CN16403

ภาษาจีนเพื่อการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว

Chinese for Tourism Business Management

3(3-0-6)
CN16404

สื่อเทคโนโลยีจีนสมัยใหม่

Modern Chinese Media Technology

3(2-2-5)
CN16405

ภาษาจีนในวงการสื่อมวลชน

Chinese in Mass Media

3(2-2-5)
CN16406

ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน

English for Work

3(2-2-5)

 ​3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx 

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

CN11101

ภาษาจีน 1 

3(2-2-5)

CN12101

การฟังและพูดภาษาจีน 1

3(2-2-5)

CN11103

ระบบเสียงภาษาจีน

3(2-2-5)

 

CNxxxxx 

วิชาเอกเลือก

3

                                                                                        รวม 

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

CN11102

ภาษาจีน 2

3(2-2-5)

CN11104

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเทศจีน

3(3-0-6)

CN12102

การฟังและพูดภาษาจีน 2

3(2-2-5)

 

CNxxxxx

วิชาเอกเลือก

2-3

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

                                                                                     รวม 

19-21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

CN11201

ภาษาจีน 3

3(2-2-5)

CN12201

การฟังและพูดภาษาจีน 3 

3(2-2-5)

CN13201

การอ่านและเขียนภาษาจีน 1

3(2-2-5)

 

CNxxxxx

วิชาเอกเลือก

2-3

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

                                                                                    รวม 

19-21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

CN11202

ภาษาจีน 4 

3(2-2-5)

CN12202

การฟังและพูดภาษาจีน 4 

3(2-2-5)

CN13202

การอ่านและเขียนภาษาจีน 2

3(2-2-5)

CN14201

หลักไวยากรณ์จีน 1

3(3-0-6)

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

                                                                                    รวม 

20-21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

เฉพาะ

CN12301

การสนทนาภาษาจีนในการทำงาน

3(2-2-5)

CN16302

ภาษาจีนเพื่อธุรกิจการค้า

3(2-2-5)

CN15302

ศิลปวัฒนธรรมจีน

3(3-0-6)

 

CNxxxxx

วิชาเอกเลือก 

6

                                                                                    รวม 

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

เฉพาะ

CN16401

ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว

3(2-2-5)

CN16402

ภาษาจีนเพื่อการโรงแรม

3(2-2-5)

CN15401

วรรณคดีและภาษาจีนโบราณ

3(3-0-6)

 

CNxxxxx

วิชาเอกเลือก

5-9

                                                                                    รวม 

14-18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จํานวนหน่วยกิต

เฉพาะ

CN17401 

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านภาษาจีน

5(450)

                                                                                    รวม 

5

 

หมายเหตุ   แผนการเรียนช่วงชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 และช่วงชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 แบ่งออกเป็น 2 หมู่เรียน ได้แก่ หมู่เรียนที่ 1 เรียนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี และหมู่เรียนที่ 2 เรียนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีหรือที่สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ตามความสมัครใจ

 

สถานที่จัดการเรียนการสอน

  1. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (สามพร้าว)
  2. Chengdu Polytechnic Sichuan China 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0334
รหัสหลักสูตร 25481691101338
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Thai for Communication

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Thai for Communication)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Thai for Communication)

 

ปรัชญา

มุ่งเน้นให้บัณฑิตมีความสามารถด้านการใช้ภาษาไทย  เพื่อนำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิผล

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2564  มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้

  1. มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ และปฏิบัติตามกฎระเบียบขององค์กรและสังคม
  2. มีความรอบรู้ในภาษาและวัฒนธรรมไทย ตลอดจนสามารถสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  3. มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถประยุกต์ใช้ภาษาไทยได้ดี
  4. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี
  5. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

ระบบการจัดการศึกษา

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค  โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น  2  ภาคการศึกษาปกติ  มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า  15  สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน  ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

การดำเนินการหลักสูตร

  1. วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
    • ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม
    • ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
    • ภาคฤดูร้อน เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม

    ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา
    และไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

  2. การลงทะเบียนเรียน
    • จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน
      ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อน หากต้องลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)
    • ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน
      เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)
  3. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา
    เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 9 และหมวด 10 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 130  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
      • กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต

      • กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต

      • กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต

      • กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต

    • หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต
      • วิชาเอกบังคับ 46 หน่วยกิต
      • วิชาเอกเลือก 48 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
  3. รายวิชา หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร

 

การกำหนดรหัสรายวิชาในหลักสูตรมีการกำหนดให้มีรหัสจำนวน 7 หน่วยประกอบด้วยอักษร 2 หน่วย และตัวเลข 5 หน่วยโดยมีความหมายดังนี้

ตัวอักษร TC หมายถึง หลักสูตรหรือสาขาวิชา
เลขตัวที่ 3,4 หมายถึง หมวดวิชาหรือกลุ่มวิชา
เลขตัวที่ 5 หมายถึง ชั้นปีหรือความยากง่าย
เลขตัวที่ 6,7 หมายถึง ลำดับก่อน-หลังของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต

     2.1) วิชาเอกบังคับ 46 หน่วยกิต

TC01103

ลักษณะภาษาไทย

Characteristics of Thai Language

3(3-0-6)

TC03101

การพัฒนาทักษะการฟังและการพูด

Listening and Speaking Skill Development

3(2-2-5)

TC03102

การพัฒนาทักษะการอ่าน

Reading Skill Development

3(2-2-5)

TC03103

การพัฒนาทักษะการเขียน

Writing Skill Development

3(2-2-5)

TC03203

การพูดในที่ประชุมชน

Public Speaking

3(2-2-5)
TC03305

การเขียนเชิงธุรกิจ

Business Writing

3(2-2-5)
TC04101

ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย

Introduction to Thai Literature

3(3-0-6)
TC04102

วรรณกรรมไทยปัจจุบัน

Thai Contemporary Literature

3(3-0-6)
TC04301

การวิจารณ์วรรณกรรมและศิลปะบันเทิง

Literary Criticism

3(3-0-6)
TC05203

ภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย

Thai Language  Society and Culture

3(3-0-6)
TC06101

หลักและกระบวนการสื่อสาร

Principles and Processes of Communication

3(3-0-6)
TC07202

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับภาษาไทย

Information Technology for Thai Language

3(2-2-5)
TC08401

การวิจัยทางภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Thai  Language  for Communication  Research

3(2-2-5)
TC09401

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Preparation for Professional Experience

2(1-2-3)
TC09402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Professional Internship

 5(480)

     2.2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

TC01101

สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษ

English Phonetics and Phonology

3(3-0-6)
TC02201

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Foreign Language in Thai

3(3-0-6)

TC02301

กวีนิพนธ์ไทย

Thai Poetry

3(2-2-5)
TC03204

ศิลปะการอ่านออกเสียง

Arts of Elocution

3(2-2-5)
TC03205

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์

Speaking  for Public Relations

3(2-2-5)
TC03207

ลีลาภาษาในวรรณกรรมไทย

Styles of Thai Literary works

3(2-2-5)
TC03301

การเขียนสารคดี

Feature Writing

3(2-2-5)
TC03303

ภาษาไทยในสื่อมวลชน

Thai Language in Mass Media

3(3-0-6)
TC03304

ศิลปะการพูดในสื่อสารมวลชน

Speech Mass Communication Arts

3(2-2-5)
TC03306

การเขียนเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

Advertising and Public Relations Writing

3(2-2-5)
TC03307

การเขียนข่าวและการสื่อข่าว

Basic News Writing and Reporting

3(2-2-5)
TC03308

การเขียนเชิงสร้างสรรค์

Creative Writing

3(2-2-5)
TC03310

การเขียนบทความ

Article Writing

3(2-2-5)
TC04202

การแปรรูปวรรณกรรม

Transformation of Literary Works

3(2-2-5)
TC04302

วรรณกรรมเพลงไทย

Thai Song Study

3(3-0-6)
TC04304

วรรณกรรมสังคมและการเมือง

Social and Political Literature

3(3-0-6)
TC05303

ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน

ASEAN Languages and Cultures

3(3-0-6)
TC05401

คติชนสมัยใหม่

Modern Folklore

3(2-2-5)
TC05402

บุคลิกภาพและมารยาทสังคม

Personality and Social Etiquettes

3(2-2-5)
TC06201

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในองค์การ

Thai for Organization Communication

3(2-2-5)
TC06301

การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

Intercultural Communication

3(3-0-6)
TC07303

การจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ภาษาไทย

Thai Language Print Media Production

3(2-2-5)
TC08201

เทคนิคการประชุมสัมมนาและการฝึกอบรม

Conference and TrainingTechniques

3(2-2-5)
TC08403

สัมมนาการใช้ภาษาไทยในวงการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่

Seminar on Thai in Mass Media and New Media

3(2-2-5)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่  1      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC01103

ลักษณะภาษาไทย 

3 (3–0-6)

TC03101

การพัฒนาทักษะการฟังและการพูด

3 (2-2-5)

TC04101

ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย

3 (3-0-6)

TC06101

หลักและกระบวนการสื่อสาร

3 (3–0-6)

รวม

18

 

ชั้นปีที่  1      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC03103

การพัฒนาทักษะการเขียน

3 (2–2-5)

TC03102

การพัฒนาทักษะการอ่าน

3 (2–2-5)

TC03203

การพูดในที่ประชุมชน

3 (2-2-5)

TC04102

วรรณกรรมไทยปัจจุบัน

3 (3–0-6)

รวม

18

 

ชั้นปีที่  2      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC07202

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับภาษาไทย

3 (2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  2      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC05203

ภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย

3 (3–0-6)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx 

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  3      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC04301

การวิจารณ์วรรณกรรมและศิลปะบันเทิง  

3 (3–0-6)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

รวม

18

 

ชั้นปีที่  3      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC03305

การเขียนเชิงธุรกิจ 

3 (2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

12

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

2-3

รวม

17-18

 

ชั้นปีที่  4      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC08401

การวิจัยทางภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

TC09401

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2 (1-2-3)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

รวม

14

 

ชั้นปีที่  4      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC09402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5 (480)

รวม

5

 

หมายเหตุ 

นักศึกษาจะต้องเรียนวิชาในหมวดวิชาเอกบังคับและมีผลการเรียนผ่านทุกรายวิชาในหมวดดังกล่าว จึงจะสามารถลงทะเบียนเรียนวิชา TC09402 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส  
รหัสหลักสูตร 25481691101608
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Information Science and Library Science

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Information Science and Library Science)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Information Science and Library Science)

 

ปรัชญา

มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นนักวิชาชีพสารสนเทศและบรรณารักษ์ซี่งมีทักษะในจัดการสารสนเทศ เพื่อรองรับการทำงานในองค์กรดิจิทัล

 

วัตถุประสงค์

 เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 

  1. มีความรู้ ความสามารถในวิชาชีพการจัดการสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ 
  3. มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ สามารถบูรณาการศาสตร์เพื่อ ตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น และสังคม 
  4. มีทักษะทางวิชาชีพ สามารถบูรณาการศาสตร์ เพื่อการจัดการสารสนเทศให้ตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่นและสังคม 
  5. มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีคุณภาพ

 

ความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร 

มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดการสารสนเทศ เพื่อรองรับการปรับเปลี่ยนองค์กร สมัยใหม่ ไปสู่องค์กรดิจิทัล

 

ระบบการศึกษา

  1. ระบบการจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกกำหนดระยะเวลาไม่น้อย กว่า 8 สัปดาห์
  2. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2564 อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทั้งนี้การกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต ให้มีสัดส่วนเทียบเคียงได้กับภาคการศึกษาปกติ
  3. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี

 

ระยะเวลาการศึกษา

  1. ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน-เดือนกันยายน 
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์
  3. ภาคฤดูร้อน (ถ้ามี) เดือนมีนาคม-เดือนพฤษภาคม ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา

สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและไม่ เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

  1. จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน ให้ลงทะเบียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อน หากต้องลงทะเบียนเรียน นอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วย การศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค) 
  2. ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วย การศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ดังนี้ 

    1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต 
    2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 92 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาเอกบังคับ 59 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาเอกเลือก 33 หน่วยกิต 
    3. หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่  1  ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

3

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS10101

สารสนเทศในบริบทสังคม

3(3-0-6)

IS10102

การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ

3(2-2-5)

IS20101

เทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ

3(2-2-5)

IS30101

ภาษาอังกฤษสำหรับนักสารสนเทศ 1

3(3-0-6)

เฉพาะ

(วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่  1  ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS10103

การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ

3(2-2-5)

IS20102

คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานสารสนเทศ

3(2-2-5)

IS30102

ภาษาอังกฤษสำหรับนักสารสนเทศ 2

3(3-0-6)

เฉพาะ

(วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่  2  ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS10104

การจัดการองค์การบริการสารสนเทศ

3(3-0-6)

 

IS10208

การค้นคืนสารสนเทศ

3(2-2-5)

 

IS20205

การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการจัดการสารสนเทศ

3(2-2-5)

เฉพาะ 

(วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  2    ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS10205   

การจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศ 1

3(2-2-5)

 

IS20203   

การออกแบบและพัฒนาสื่อดิจิทัล

3(2-2-5)

IS20307

ฐานข้อมูลเพื่อการจัดการสารสนเทศ

3(2-2-5)

เฉพาะ 

(วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  3    ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS10307   

การจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศ 2

3(2-2-5)

IS10308   

การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ

3(2-2-5)

IS20306

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานสารสนเทศ

3(2-2-5)

เฉพาะ

 (วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่  3    ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

 

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

3

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS20308  

การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ

3(2-2-5)

เฉพาะ

 (วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

12

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม 

20 – 21

 

ชั้นปีที่  4    ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS30307

การวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์

3(2-2-5)

เฉพาะ 

(วิชาเอกเลือก)

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

6

รวม

9

 

ชั้นปีที่  4    ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

IS30408

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์

5(480)

รวม

5

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0302
รหัสหลักสูตร 25481691101327
ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in English

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (English)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (English)

 

ปรัชญา

คุณธรรมนำปัญญา เชี่ยวชาญภาษา พัฒนาสู่สากล

 

วัตถุประสงค์

เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังนี้

  1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง มีจิตสาธารณะในการนำความรู้ด้านภาษาอังกฤษไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
  2. มีความรู้ ความสามารถในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง ตามหลักไวยากรณ์  สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารทั่วไป และใช้ภาษาอังกฤษเฉพาะทางในการทำงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์ 
  3. มีความสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการความรู้ทางภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษ วรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน และวรรณคดีที่ประพันธ์หรือแปลเป็นภาษาอังกฤษ ตลอดจนการแปลตัวบทที่ใช้คำศัพท์เฉพาะด้าน
  4. มีความสามารถคิดและวิเคราะห์โครงสร้างและเนื้อหาภาษาอังกฤษ รวมถึงจำแนกประเภทของข้อมูลภาษาอังกฤษที่นำเสนอผ่านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทต่างๆ
  5. มีความสามารถในการประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษมาใช้ในการทำงานของตนเองและการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีภาวะความเป็นผู้นำ เข้าใจบทบาทของตนเอง และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ปรับตัวให้เข้ากับการทำงานและสังคมที่มีความหลากหลาย
  6. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนะและความรู้ภาษาอังกฤษ ในการสืบค้นข้อมูลและองค์ความรู้ที่ทันสมัยเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

 

ระบบการศึกษา

  1. ระบบ

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาคโดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

  1. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อนขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

  1. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

ไม่มี

 

ระยะเวลาการศึกษา

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
ภาคฤดูร้อน (ถ้ามี) เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม
ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษาสำหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา และไม่เกิน 12 ปีการศึกษาสำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

  • จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน กำหนดการ ขั้นตอน และวิธีการลงทะเบียนรายวิชาเรียน ความสมบูรณ์ของการลงทะเบียนเรียน ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี  พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)
  • ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 128  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเฉพาะด้าน 92 หน่วยกิต
      • วิชาแกน 15 หน่วยกิต
      • วิชาเฉพาะด้าน
        • ทักษะภาษา 21 หน่วยกิต
        • ภาษาศาสตร์ 12 หน่วยกิต
        • วรรณคดี 12 หน่วยกิต
        • การแปล 9 หน่วยกิต
      • วิชาเลือก 15 หน่วยกิต
      • กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษา 8 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
  3. รายวิชา หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร

การกำหนดรหัสรายวิชาในหลักสูตรมีการกำหนดให้มีรหัสจำนวน 7 หน่วยประกอบด้วยอักษร 2 หน่วย และตัวเลข 5 หน่วยโดยมีความหมายดังนี้
ตัวเลขที่ 1-2 เป็นหลักสูตรหรือ สาขาวิชา
EN หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
FR หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
GE หมายถึง รายวิชาในหมวดการศึกษาทั่วไป
GK หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษากรีก
GR หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาเยอรมัน
JP หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
KO หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาเกาหลี
LO หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาลาว
ตัวเลขที่ 3-4 เป็นหมวดวิชา หรือ กลุ่มวิชาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ
50 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์
51 หมายถึง กลุ่มวิชาทักษะภาษา
52 หมายถึง กลุ่มวิชาการแปล
53 หมายถึง กลุ่มวิชาวรรณคดี
54 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาและวัฒนธรรม
55 หมายถึง กลุ่มวิชาการสอนภาษา
56 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาเฉพาะกิจ
57 หมายถึง กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ตัวเลขที่ 5 เป็นชั้นปี หรือ ความยากง่าย
ตัวเลขที่ 6-7 เป็นลำดับก่อน-หลัง ของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ 92 หน่วยกิต

     2.1) วิชาแกน 15 หน่วยกิต

EN50102

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

Introduction to Linguistics

3(3-0-6)

EN51101

การฟังและการพูด 1

Listening and Speaking1

3(2-2-5)

EN51102

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

Reading and Writing in English

3(2-2-5)

EN52201

การแปล 1

Translation 1

3(3-0-6)

EN53101

วรรณคดีเบื้องต้น

Introduction to Literature

3(3-0-6)

     2.2) กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จำนวน 54 หน่วยกิต

             2.2.1) วิชาภาษาศาสตร์ จำนวน 12 หน่วยกิต

EN50101

สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษ

English Phonetics and Phonology

3(2-2-5)

EN50201

วากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ 1

English Syntax 1

3(3-0-6)

EN50301

วากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ 2

English Syntax 2

3(3-0-6)

EN50302

อรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์

Semantics and Pragmatics

3(3-0-6)

             2.2.2) วิชาทักษะภาษา จำนวน 21 หน่วยกิต

EN51201

การฟังและการพูด 2

Listening and Speaking 2

3(2-2-5)

EN51202

กลวิธีการอ่านระดับสูง

Advanced Reading Strategies

3(3-0-6)
EN51203

การเขียนเรียงความ

Essay Writing

3(2-2-5)

EN51301

การฟังและการพูด 3

Listening and Speaking 3

3(2-2-5)

EN51302

การอ่านและการเขียนระดับสูง

Advanced Reading and Writing

3(2-2-5)

EN51401

การพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ

Public Speaking and Presentation

3(2-2-5)

EN51402

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

Academic English Reading and Writing

3(2-2-5)

             2.2.3) วิชาการแปล จำนวน 9 หน่วยกิต

EN52202

การแปล 2

Translation 2

3(3-0-6)

EN52301

การแปล 3

Translation 3

3(3-0-6)

EN52401

การแปล 4

Translation 4

3(3-0-6)

             2.2.1) วิชาวรรณคดี จำนวน 12 หน่วยกิต

EN53201

ภูมิหลังวรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน

Background of British and American Literature

3(3-0-6)

EN53202

การอ่านร้อยกรอง

Poetry Selections

3(3-0-6)

EN53301

การอ่านร้อยแก้ว

Prose Selections

3(3-0-6)
EN53302

บทละครอังกฤษและอเมริกัน

British and American Drama

3(3-0-6)

     2.3) กลุ่มวิชาเลือก 15 หน่วยกิต

             2.3.1) วิชาภาษาศาสตร์

EN50103

ไวยากรณ์เพื่อการสื่อสาร

Communicative Grammar

3(3-0-6)
EN50401

ภาษาศาสตร์ประยุกต์เบื้องต้น

Introduction to Applied Linguistics

3(3-0-6)

EN50402

วิวัฒนาการของภาษาอังกฤษ

Development of the English Language

3(3-0-6)

             2.3.2) วิชาการแปล

EN52402

การแปลเพื่องานอาชีพ

Translation for Professional Purposes

3(3-0-6)

             2.3.3) วิชาวรรณคดี

EN53402

วรรณกรรมภาษาอังกฤษชิ้นเอก

World English Masterpieces

3(3-0-6)

EN53403

เทวตำนาน

Mythology

3(3-0-6)

             2.3.4) วิชาภาษาและวัฒนธรรม

EN54101

ภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรม

Socio-cultural Background of English-speaking Countries

3(3-0-6)

             2.3.5) วิชาการสอนภาษา

EN55401

วิทยาระเบียบวิธีสอนภาษาอังกฤษเบื้องต้น

Basic Methodology in Teaching English

3(3-0-6)

             2.3.6) วิชาภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ

EN56201

ภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีพ

English for Occupational Purposes

3(3-0-6)

EN56202

ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงค์ทางวิชาการ

English for Academic Purposes

3(3-0-6)

EN56301

ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว 1

English for Tourism 1

3(2-2-5)

EN56302

ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว 2

English for Tourism 2

3(2-2-5)

EN56303

ภาษาอังกฤษเพื่อการทดสอบมาตรฐานทางภาษา

English for International Standardized Tests

3(3-0-6)

EN56304

ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการธุรกิจ 1

English for Business Management 1

3(2-2-5)

EN56305

ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการธุรกิจ 2

English for Business Management 2

3(2-2-5)

             2.3.7) วิชาภาษาต่างประเทศอื่น

FR51201

ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร 1

French for Communication 1

3(2-2-5)

FR51202

ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร 2

French for Communication 2

3(2-2-5)

GK51201

ภาษากรีกเพื่อการสื่อสาร 1

Greek for Communication 1

3(2-2-5)

GK51202

ภาษากรีกเพื่อการสื่อสาร 2

Greek for Communication 2

3(2-2-5)

GR51201

ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสาร 1

German for Communication 1

3(2-2-5)

GR51202

ภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสาร 2

German for Communication 2

3(2-2-5)

JP51201

ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 1

Japanese for Communication 1

3(2-2-5)

JP51202

ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 2

Japanese for Communication 2

3(2-2-5)

KO51201

ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 1

Korean for Communication 1

3(2-2-5)

KO51202

ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 2

Korean for Communication 2

3(2-2-5)

LO51201

ภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร 1

Lao for Communication 1

3(2-2-5)

LO51202

ภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร 2

Lao for Communication 2

3(2-2-5)

     2.4) กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษา จำนวน 8 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียนกลุ่มวิชาต่อไปนี้เพียง 1 กลุ่มรายวิชา

             2.4.1) กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

EN57401

ทักษะวิชาชีพเพื่อการฝึกประสบการณ์

Professional Skills for Internship

3(3-0-6)
EN57402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษ

Internship for English Majors

5(480)
EN57403

การฝึกอบรมหรือฝึกงานในต่างประเทศ

International Academic or Professional Training

2(2-0-4)

             2.4.2) กลุ่มวิชาสหกิจศึกษา

EN57404

เตรียมสหกิจศึกษา

Pre-Coorperative Education

2(2-0-4)

EN57405

สหกิจศึกษา

Cooperative Education

6(640)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

หมวดวิชาแกน

EN51101

การฟังและการพูด 1

3(2-2-5)

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN50101

สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

หมวดวิชาเอกเลือก

EN50103

ไวยากรณ์เพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

หมวดวิชาแกน

EN51102

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

EN50102

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น

3(3-0-6)

EN53101

วรรณคดีเบื้องต้น

3(3-0-6)

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาแกน

EN52201

การแปล 1

3(3-0-6)

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN51201

การฟังและการพูด 2

3(2-2-5)

EN51202

กลวิธีการอ่านระดับสูง

3(3-0-6)

EN50201

วากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ 1

3(3-0-6)

EN53201

ภูมิหลังวรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน

3(3-0-6)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN51203

การเขียนเรียงความ 

3(2-2-5)

EN52202

การแปล 2

3(3-0-6)

EN53202

การอ่านร้อยกรอง

3(3-0-6)

เลือกเสรี

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN50301

วากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ 2

3(3-0-6)

EN52301

การแปล 3

3(3-0-6)

EN53301

การอ่านร้อยแก้ว

3(3-0-6)

วิชาเอกเลือก

EN56301

ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว 1

3(2-2-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN50302

อรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์

3(3-0-6)

EN51301

การฟังและการพูด 3

3(2-2-5)

EN51302

การอ่านและการเขียนระดับสูง

3(2-2-5)

 

EN53302

บทละครอังกฤษและอเมริกัน

3(3-0-6)

วิชาเอกเลือก

EN56302

ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว 2

3(2-2-5)

เลือกเสรี

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN51401

การพูดในที่ชุมชนและการนำเสนอ

3(2-2-5)

EN51402

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

3(2-2-5)

EN52401

การแปล 4

3(3-0-6)

EN57401

ทักษะวิชาชีพเพื่อการฝึกประสบการณ์

3(3-0-6)

หรือ

 

EN57404

เตรียมสหกิจศึกษา

2(2-0-4)

เอกเลือก

EN50402

วิวัฒนาการของภาษาอังกฤษ

3(3-0-6)

EN53402

วรรณกรรมภาษาอังกฤษชิ้นเอก

3(3-0-6)

รวม

17-18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะด้าน

EN57402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ภาษาอังกฤษ

5(480)

หรือ

 

EN57403

การฝึกอบรมหรือฝึกงาน

ในต่างประเทศ

5(480)

หรือ

 

EN57405

สหกิจศึกษา

6(640)

รวม

5 หรือ 6

 

นักศึกษาต้องมีผลการสอบภาษาอังกฤษในระดับชั้นปีสุดท้าย ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานสากลของระดับปริญญาตรี เทียบเท่ากับ C1 (Proficient User) ตามมาตรฐานสากล Common European Framework of Reference for Languages: Learning, Teaching, Assessment (CEFR)

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุกิจ ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0305
รหัสหลักสูตร 25481691101643
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุกิจ
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Business English

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจ)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษธุรกิจ)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Business English)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Business English)

 

ปรัชญา

หลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจมุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพื่องานธุรกิจ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับสากลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงเป็นผู้มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ และมีจิตสำนึกที่ดีต่อชุมชนและสังคม

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้านดังต่อไปนี้

  1. มีความรู้และความสามารถในการสื่อสารทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทยในเชิงธุรกิจรวมทั้งศาสตร์ที่เกี่ยวข้องสามารถนำความรู้ในศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นและสังคมและพัฒนาตนเอง รวมทั้งพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง
  2. มีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ และประเมินข้อมูลที่ได้จาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลายประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
  3. ปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีบุคลิกภาพเหมาะสมในการประกอบอาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรม ตลอดจนสามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
  5. มีเจตคติจริยธรรมที่ดีทางด้านการบริหารเพื่อการพัฒนาตนเองในการประกอบวิชาชีพ

 

ระบบการศึกษา

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค  โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

ระยะเวลาการศึกษา

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
ภาคฤดูร้อน (ถ้ามี) เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม
ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษาสำหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา และไม่เกิน 12 ปีการศึกษาสำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 127  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเฉพาะ 91 หน่วยกิต
      • วิชาเอกบังคับ 63  หน่วยกิต
      • วิชาเอกเลือก 28  หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
  3. รายวิชา หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร

การกำหนดรหัสรายวิชาในหลักสูตรมีการกำหนดให้มีรหัสจำนวน 7 หน่วยประกอบด้วยอักษร 2 หน่วย และตัวเลข 5 หน่วยโดยมีความหมายดังนี้
ตัวเลขที่ 1-2 เป็นหลักสูตรหรือ สาขาวิชา
AC หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาการบัญชี
BE หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
BC หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์
FN หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาการเงิน
GE หมายถึงรายวิชาในหมวดการศึกษาทั่วไป
GM หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาการจัดการทั่วไป
MK หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาการตลาด
TM หมายถึงรายวิชาในสาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว

ตัวเลขที่ 3-4 เป็นหมวดวิชา หรือ กลุ่มวิชา
10 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์พื้นฐาน
20 หมายถึง กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์พื้นฐาน
30 หมายถึง กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์พื้นฐาน
40 หมายถึง กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน
50 หมายถึง กลุ่มวิชาพื้นฐานภาษาอังกฤษ
51 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจพื้นฐาน
52 หมายถึง กลุ่มวิชาทักษะทางภาษาพื้นฐานเพื่องานธุรกิจทั่วไป
53 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์และการแปล
54 หมายถึง กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
55 หมายถึง กลุ่มวิชาโครงงานและการฝึกอบรม
56 หมายถึง กลุ่มวิชาเทคโนโลยี
57 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจเฉพาะด้าน
58 หมายถึง กลุ่มวิชาวิจัย
59 หมายถึง กลุ่มวิชาการฝึกประสบการณ์
60 หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ

ตัวเลขที่ 5 เป็นชั้นปี หรือ ความยากง่าย
ตัวเลขที่ 6-7 เป็นลำดับก่อน-หลัง ของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 91 หน่วยกิต

     2.1) วิชาเอกบังคับ 63 หน่วยกิต

AC10101

การบัญชีการเงิน

Financial Accounting

3(2-2-5)

BC10302

กราฟิกและแอนิเมชันเพื่องานธุรกิจ

Graphics and Animation for Business

3(2-2-5)

BE50101

โครงสร้างภาษาอังกฤษ 1

English Structure 1

2(1-2-3)

BE50102

โครงสร้างภาษาอังกฤษ 2

English Structure 2

2(1-2-3)

BE50103

การออกเสียงภาษาอังกฤษ

English Pronunciation

2(1-2-3)

BE50104

การอ่านทางธุรกิจ 1

Business Reading 1

2(1-2-3)
BE51101

ภาษาอังกฤษธุรกิจเบื้องต้น

Introduction to Business English

3(3-0-6)

BE52101

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 1

Business Conversation in English 1

2(1-2-3)

BE52102

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 2

Business Conversation in English 2

2(1-2-3)

BE52201

การอ่านทางธุรกิจ 2

Business Reading 2

2(1-2-3)

BE52202

การเขียนอนุเฉทเพื่องานทางธุรกิจ

Paragraph Writing for Business Purposes

3(2-2-5)

BE52203

จดหมายธุรกิจและการติดต่อทางธุรกิจ

Business Correspondence

2(1-2-3)

BE52303

การเขียนเรียงความเพื่องานด้านธุรกิจ

Essay Writing for Business Purposes

2(1-2-3)

BE52401

การนำเสนองานทางธุรกิจ

Presentation in Business

2(1-2-3)

BE52403

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจขั้นสูง

Advanced Business Communication in English

3(3-0-6)

BE53101

การแปลเบื้องต้น

Basic Translation

2(1-2-3)

BE54102

การสื่อสารต่างวัฒนธรรม

Cross-cultural communication

2(1-2-3)

BE55402

โครงงานภาษาอังกฤษธุรกิจ

Business English Project

3(2-2-5)

BE58401

ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ

Research Methodology in Business

2(1-2-3)

EC01101

หลักเศรษฐศาสตร์และการประยุกต์

Principles of Economics and Application

3(2-2-5)

FN10201

การเงินธุรกิจ

Business Finance

3(3-0-6)

MK11101

การตลาดสมัยใหม่

Modern Marketing

3(3-0-6)
TM14101

การพัฒนาบุคลิกภาพและจิตวิทยาการบริการ

Personality Development for Service Psychology

3(2-2-5)
เลือก
BE59401

ทักษะทางวิชาชีพเพื่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

Professional Skills for Business English Internship

2(1-2-3)

BE59402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

Business English Internship

5(480)
หรือ

BE59403

การเตรียมทักษะการศึกษาแบบสหกิจศึกษา

Preparation Course for Co-operative Education

2(1-2-3)

BE59403

การศึกษาแบบสหกิจศึกษา

Co-operative Education

5(480)

     2.2) วิชาเอกเลือก ให้เลือกเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ 28  หน่วยกิต

BE50001

การใช้ศัพท์ภาษาอังกฤษธุรกิจ

Business English Vocabulary in Use

2(1-2-3)
BE50401

การเขียนเชิงสร้างสรรค์

Creative Writing

2(1-2-3)
BE51301

วรรณกรรมเบื้องต้นเพื่อจุดประสงค์ทางธุรกิจ

Introduction to Literature for Business Purposes

3(3-0-6)

BE52301

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 3

Business Conversation in English 3

2(1-2-3)

BE52302

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 4

Business Conversation in English 4

2(1-2-3)

BE52402

ภาษาพูดภาษาอังกฤษทางธุรกิจ

Spoken English in Business

2(1-2-3)

BE53201

การแปลทางธุรกิจ

Translation for Business Purposes

2(1-2-3)

BE53301

ภาษาศาสตร์สังคมเพื่องานธุรกิจ

Sociolinguistic Aspects for Business

2(1-2-3)

BE53401

การแปลแบบล่าม

Consecutive Interpretation

2(1-2-3)

BE54101

อารยธรรมตะวันตก

Western Civilization

2(1-2-3)
BE54201

กฎหมายเบื้องต้นสำหรับวิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

Introduction to Law for Careers for Business Purposes

2(1-2-3)

BE55401

การฝึกอบรมวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในต่างประเทศ

Overseas Business English Training

3(120)

BE56301

เทคโนโลยีในงานธุรกิจระหว่างประเทศ

Technology in International Business

2(1-2-3)

BE57201

ภาษาอังกฤษเพื่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

English for Tourism Industry

2(1-2-3)

BE57202

ภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม

English for Hotel

2(1-2-3)

BE57203

ภาษาอังกฤษสำหรับงานสำนักงาน

English for Office Work

2(1-2-3)

BE57204

ภาษาอังกฤษสำหรับงานเลขานุการ

English for Secretary

2(1-2-3)

BE57205

ภาษาอังกฤษสำหรับงานการตลาด

English for Marketing

2(1-2-3)

BE57206

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และโลจิสติกส์

English for Imports-exports and Logistics Business

2(1-2-3)

BE57207

ภาษาอังกฤษสำหรับงานประชาสัมพันธ์

English for Public Relations

2(1-2-3)

BE57208

ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจอาหาร

English for Catering Business

2(1-2-3)

BE57209

ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจบริการด้านสุขภาพ

English for Health Care Business

2(1-2-3)

BE57210

ภาษาอังกฤษสำหรับงานลูกค้าสัมพันธ์

English for Customer Relations

2(1-2-3)

BE57301

ภาษาอังกฤษเพื่อการซื้อขายทางอิเล็คทรอนิคส์ระหว่างประเทศ

English for International E-commerce

2(1-2-3)

BE57302

ภาษาอังกฤษสำหรับสื่อมวลชน

English for Mass Media

3(3-0-6)

BE57302

ภาษาอังกฤษสำหรับสื่อมวลชน

English for Mass Media

2(1-2-3)

BE57303

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจไมซ์

English for MICE

2(1-2-3)

BE57304

การเขียนภาษาอังกฤษทางราชการสำหรับงานภาครัฐ

Official English Writing for Government Careers

2(1-2-3)

BE58402

การวิจัยในวิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

Research in Business English Profession

3(2-2-5)

BE60101

ภาษาจีนระดับต้นในชีวิตประจำวัน

Basic Chinese in Daily Life

2(1-2-3)

BE60102

ภาษาจีนสำหรับงานบริการ 1

Chinese for Service 1

2(1-2-3)

BE60103

ภาษาจีนสำหรับงานบริการ 2

Chinese for Service 2

2(1-2-3)

GM12201

กลยุทธ์และการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่

Strategies and Modern Entrepreneurship

3(3-0-6)

GM32102

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

Introduction to Business Operation

3(3-0-6)

HR11102

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ยุคดิจิทัล

Human Resource Management in Digital Era

3(3-0-6)

MK15201

ศิลปะการขาย

Salesmanship

3(3-0-6)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

12

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE50101

โครงสร้างภาษาอังกฤษ 1

2 (1-2-3)

BE50104

การอ่านทางธุรกิจ 1

2 (1-2-3)

BE52101

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 1

2 (1-2-3)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE50102 

โครงสร้างภาษาอังกฤษ 2

 

 

 

 

2 (1-2-3)

BE52102 

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 2

2 (1-2-3)

BE50103 

การออกเสียงภาษาอังกฤษ

2 (1-2-3)

BE51101

ภาษาอังกฤษธุรกิจเบื้องต้น

3 (3-0-6)

BE52201

การอ่านทางธุรกิจ 2

2 (1-2-3)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

2

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

 

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE52202        

การเขียนอนุเฉทเพื่องานทางธุรกิจ 

3(2-2-5)

TM14101

การพัฒนาบุคลิกภาพและจิตวิทยาการบริการ

3(3-0-6)

AC10101

การบัญชีการเงิน

3(2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

3-5

รวม

20

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

 

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE54102

การสื่อสารต่างวัฒนธรรม

2(1-2-3)

FN10201

การเงินธุรกิจ

3(3-0-6)

EC01101

หลักเศรษฐศาสตร์และการประยุกต์ใช้

3(2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

5-7

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE53101

การแปลเบื้องต้น

2(1-2-3)

BE52303

การเขียนเรียงความเพื่องานด้านธุรกิจ

2(1-2-3)

MK11101

การตลาดสมัยใหม่

3(3-0-6)

BC10302

กราฟิกและแอนิเมชันเพื่องานธุรกิจ

3(2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

3-4

เลือกเสรี

 

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE52203 

จดหมายธุรกิจและการติดต่อทางธุรกิจ

2(1-2-3)

BE58401

ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ

2(1-2-3)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

3-5

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE59401

ทักษะทางวิชาชีพเพื่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

2(1-2-3)

หรือ

BE59403

การเตรียมทักษะการศึกษาแบบสหกิจศึกษา

2(1-2-3)

BE55402 

โครงงานภาษาอังกฤษธุรกิจ

3(2-2-5)

BE52403 

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจขั้นสูง

3(3-0-6) 

BE52401

การนำเสนองานทางธุรกิจ

2(1-2-3)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

3-5

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

BE59402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

5(480)

หรือ

BE59404

การศึกษาแบบสหกิจศึกษา

5(480)

รวม

5

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0340
รหัสหลักสูตร 25581691101958
ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Geo-Informatics for Development

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต  (ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Geo-Informatics for Development)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Geo-Informatics for Development)

 

ปรัชญา

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา มุ่งผลิตบัณฑิต               ให้มีความรู้และทักษะด้านภูมิสารสนเทศ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่เป็นนักปฏิบัติการภูมิสารสนเทศในองค์กรภาครัฐและเอกชนอย่างมืออาชีพ มีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้ในการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์บนฐานกระบวนการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

 

วัตถุประสงค์

  1. มีความรู้และทักษะทางด้านภูมิสารสนเทศ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การรับรู้จากระยะไกล ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก การจัดการฐานข้อมูล รวมถึงมีทักษะในการเผยแพร่ข้อมูลทางด้านภูมิสารสนเทศ
  2. มีความรู้และทักษะทางด้านภูมิสารสนเทศในการประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่เพื่อท้องถิ่นบนฐานกระบวนการวิจัย
  3. สามารถนำเทคโนโลยีภูมิสาสนเทศมาบูรณาการร่วมกับข้อมูล ฐานข้อมูล หรือข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ที่มีในระดับท้องถิ่นและระดับชาติได้
  4. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ วางแผน บริหารจัดการอย่างเป็นระบบเป็นนักปฏิบัติการทางภูมิสารสนเทศได้อย่างมืออาชีพ
  5. มีความสามารถในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
  6. มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ ดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมภูมิปัญญาอันดีงามของไทย

 

ระบบการศึกษา

การศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติใน 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อนโดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

ระยะเวลาการศึกษา

4 ปี

 

การลงทะเบียนเรียน

ไม่น้อยกว่า 127 หน่วยกิต

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 127  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเฉพาะด้าน 91 หน่วยกิต
      • วิชาเอกบังคับ 67 หน่วยกิต
      • วิชาเอกเลือก 18 หน่วยกิต
      • วิชาการศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ

(เอกบังคับ)

GD65101

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

3(2-2-5)

GD65102

ภูมิศาสตร์มนุษย์

3(2-2-5)

GD65105

พื้นฐานภูมิสารสนเทศ

3(2-2-5)

GD65108

แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ

(เอกบังคับ)

GD65103

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

3(2-2-5)

GD65104

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

3(2-2-5)

GD65106

ปฏิบัติการทางแผนที่สู่การพัฒนาท้องถิ่น

3(2-2-5)

GD65107

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น

3(2-2-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ

(เอกบังคับ)

GD65201

นโยบายสาธารณะ

3(2-2-5)

GD65206

ระบบการบริหารงานท้องถิ่น

2(2-0-4)

GD65203

การวิเคราะห์เชิงพื้นที่

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ

(เอกเลือก)

GDXXXXX

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก

3

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ 

(เอกบังคับ)

GD65204

การวิเคราะห์ภาพถ่ายเชิงตัวเลข

3(2-2-5)

GD65202

การรับรู้จากระยะไกลขั้นสูง

3(2-2-5)

GD65205 พื้นที่เปราะบางและเสี่ยงภัย

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ 

(เอกเลือก)

GDXXXXX

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก

3

วิชาเลือกเสรี

XXXXXXX เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

วิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะ 

(เอกบังคับ)

GD65301

การจัดการฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ

3(2-2-5)

GD65302

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนอินเตอร์เน็ต

3(2-2-5)

GD65304 การออกแบบแผนที่มัลติมีเดีย

3(2-2-5)

วิชาเฉพาะ 

(เอกเลือก)

GDXXXXX

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก

3

วิชาเลือกเสรี

XXXXXXX เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ 

(เอกบังคับ)

GD65303

การสำรวจภูมิประเทศ

3(2-2-5)

GD65305 การดำเนินงานพัฒนาสังคม

3(2-2-5)

GD65306

ระเบียบวิธีวิจัยทางภูมิสารสนเทศและภูมิศาสตร์

2(2-0-4)

GD65307

สัมมนาทางภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา 

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ 

(เอกเลือก)

GDXXXXX

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก

6

รวม

16

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเฉพาะ 

(เอกบังคับ)

GD65499

การวิจัยทางภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนา

3(2-2-5)

GD65402 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพและสหกิจศึกษาภูมิสารสนเทศ 2(0-4-4)
GD65401 ภาษาอังกฤษสำหรับภูมิสารสนเทศ

2(2-0-4)

วิชาเฉพาะ

(เอกเลือก)

GDXXXXX

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก

3

รวม

10

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชา  การศึกษาอิสระ

GD70487

หรือ

GD70488

หรือ

GD70489

การศึกษาอิสระ

หรือ

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

หรือ

สหกิจศึกษา

6(540)

รวม

6

 

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0306
รหัสหลักสูตร 25641694003994
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Business English (International Program)

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษธุรกิจนานาชาติ)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษธุรกิจนานาชาติ)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Business English International)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Business English International)

 

ปรัชญา

มุ่งผลิตบัณฑิตที่เชี่ยวชาญในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่องานธุรกิจในระดับสากล มีความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เป็นบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการขององค์กรในยุคเศรษฐกิจแบบดิจิตัลที่ไร้พรมแดน สามารถประกอบอาชีพยุคใหม่ที่มีการใช้ภาษาอังกฤษผ่านช่องทางเทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการคิดเชิงวิเคราะห์ เข้าใจสหวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม รวมถึงมีจิตสำนึกที่ดีต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้

1 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจเพื่อการประกอบการและการทำธุรกิจระดับสากลทั้งในฐานะเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรและประกอบอาชีพอิสระ สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นและสังคมและพัฒนาตนเอง รวมทั้งพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง

2 มีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ และประเมินข้อมูลที่ได้จาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลายประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการทำงานให้เกิดประสิทธิผล

3 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีบุคลิกภาพเหมาะสมในการประกอบอาชีพมีมนุษยสัมพันธ์และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีและสื่อใหม่ การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรม

   5 มีทักษะในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนแปลง ตลอดจนมีลักษณะนิสัยในการแสวงหาความรู้เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

 

ระบบการศึกษา

 การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษามีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ต่อหนึ่งภาคการศึกษา และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8  สัปดาห์

 

รูปแบบ

เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 โดยจัดการศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ

 

คณะกรรมการสาขาวิชา 

  1. ดร.สุภัทรา วันเพ็ญ หัวหน้าสาขาวิชา
  2. ผศ.วันวิสาข์ คงธนกุลบวร กรรมการ
  3. อาจารย์จุฑามาส สุทธิปัญโญ กรรมการ
  4. ดร,ธีรัชพล คำสะอาด กรรมการ
  5. อาจารย์อัษฎางค์ สุวรรณภักดี กรรมการ
  6. อาจารย์โศภิดา บุญจำนง กรรมการและเลขานุการ

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 124  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต
    2. หมวดวิชาเฉพาะ 88  หน่วยกิต
      1. วิชาเอกบังคับ 58  หน่วยกิต
      2. วิชาเอกเลือก 30  หน่วยกิต
    3. หมวดวิชาเลือกเสรี   ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
  3. รายวิชา หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร ให้มีรหัสจำนวน 7 ตำแหน่ง ประกอบด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ 2 ตำแหน่ง และตัวเลข 5 ตำแหน่ง โดยมีความหมายดังนี้

 

ตัวอักษร  1-2 เป็นหลักสูตร หรือ สาขาวิชา
AC หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาการบัญชี
BC หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์
CI หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ
EC หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
GE หมายถึง รายวิชาในหมวดการศึกษาทั่วไป
GM หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาการจัดการทั่วไป
HT หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาการจัดการการโรงแรม
IB หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ)
MK หมายถึง รายวิชาในสาขาวิชาการตลาด
เลขตัวที่  3-4 เป็นหมวดวิชา หรือ กลุ่มวิชา
10  หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน
20  หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจพื้นฐาน
21  หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจเฉพาะด้าน
30  หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาศาสตร์และวรรณคดี
40  หมายถึง กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
41  หมายถึง กลุ่มวิชาธุรกิจและการจัดการ
50  หมายถึง กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน
60  หมายถึง กลุ่มวิชาวิจัย
70  หมายถึง กลุ่มวิชาโครงงานและการฝึกอบรม
71  หมายถึง กลุ่มวิชาการฝึกประสบการณ์
80  หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาไทย
81  หมายถึง กลุ่มวิชาภาษาจีน
เลขตัวที่  5  เป็นชั้นปี หรือ ความยากง่าย
เลขตัวที่  6-7  เป็นลำดับก่อน-หลัง ของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 88 หน่วยกิต

     2.1) วิชาเอกบังคับ 58 หน่วยกิต

AC10101

การบัญชีการเงิน

Financial Accounting

3(2-2-5)

BC20104

สื่อดิจิทัล

Digital Media

3(2-2-5)

EC01101

หลักเศรษฐศาสตร์และการประยุกต์ใช้

Principles of Economics and Application

3(2-2-5)

GM11101

การจัดการสมัยใหม่

Modern Management

3(3-0-6)

IB10101

ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

Communicative English Grammar

3(3-0-6)

IB10102

การออกเสียงภาษาอังกฤษ

English Pronunciation

3(2-2-5)

IB10201

การฟังและการพูดเพื่อการสื่อสาร

Communicative Listening and Speaking

3(2-2-5)

IB10202

การอ่านเพื่อการสื่อสาร

Communicative Reading

3(2-2-5)

IB10203

การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Communicative Writing

3(2-2-5)

IB20101

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 1 Business Conversation in English 1

3(2-2-5)

IB20201

การอ่านทางธุรกิจ 1

Business Reading 1

3(2-2-5)

IB20203

การเขียนทางธุรกิจ 1

Business Writing 1

3(2-2-5)

IB20301

การนำเสนองานทางธุรกิจ

Business Presentation

3(2-2-5)

IB30301

ภาษาศาสตร์สังคมเพื่องานธุรกิจ

Sociolinguistics Aspects for Business

3(3-0-6)

IB40301

การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

Intercultural communication

3(2-2-5)

IB50201

เทคโนโลยีในงานธุรกิจระหว่างประเทศ

Technology in International Business

3(2-2-5)

MK11101

การตลาดสมัยใหม่

Modern marketing

3(3-0-6)

กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้เลือก  7 หน่วยกิต จากชุดวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หรือ ชุดวิชาการศึกษาแบบสหกิจศึกษา

IB71401

ทักษะทางวิชาชีพเพื่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ 

 Professional Skills for Business English Internship

2(1-2-3)

IB71402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

Business English Internship

5(480)

หรือ

IB71411

การเตรียมทักษะการศึกษาแบบสหกิจศึกษา Preparation Course for Co-operative Education

2(1-2-3)

IB71412 

การศึกษาแบบสหกิจศึกษา

Co-operative Education

5(480)

2.2) วิชาเอกเลือก ให้เลือกเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ 30  หน่วยกิต 

เลือกจากวิชาเอกเลือกด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต

วิชาเอกเลือกด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ

IB20102

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 2 

Business Conversation in English 2

3(2-2-5)

IB20202

การอ่านทางธุรกิจ 2

Business Reading 2

3(3-0-6)

IB20204

การเขียนทางธุรกิจ 2

Business Writing 2

3(2-2-5)

IB20205

จดหมายธุรกิจและการติดต่อทางธุรกิจ

Business Correspondence

3(2-2-5)

IB20302

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจขั้นสูง  

Advanced Business Communication in English

3(3-0-6)

IB21201

ภาษาอังกฤษสำหรับเลขานุการ

English for Secretary

3(3-0-6)

IB21202

การใช้ภาษาอังกฤษในสื่อสมัยใหม่

Use of English in New Media

3(2-2-5)

IB21203

ภาษาอังกฤษสำหรับงานคอนเทนต์ครีเอเตอร์

English for Content Creator

3(2-2-5)

IB21301

ภาษาอังกฤษสำหรับงานลูกค้าสัมพันธ์

English for Customer Relations

2(1-2-3)

IB21302

ภาษาอังกฤษเพื่องานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ

English for International electronic commerce

2(1-2-3)

IB21303

ภาษาอังกฤษเพื่อการประชุมทางธุรกิจ

English for Business Meeting

3(3-0-6)

IB21401

ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และโลจิสติกส์

English for Imports-exports and Logistics Business

3(3-0-6)

IB21402

ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการตลาดเชิงกิจกรรม

English for Event marketing management

3(2-2-5)

IB30201

อารยธรรมตะวันตก

Western Civilization

2(1-2-3)

IB40201

บุคลิกภาพและมารยาทเชิงธุรกิจ

Personality and Business Etiquette

3(2-2-5)

IB41201

ธุรกิจระหว่างประเทศเบื้องต้น

Introduction to International Business

3(3-0-6)

IB41202

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศ

International Electronic Commerce

2(1-2-3)

IB70301

การฝึกอบรมวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในต่างประเทศ 

Overseas Business English Training

3(120)

IB70302

โครงงานภาษาอังกฤษธุรกิจ   

Business English Project

3(2-2-5)

เลือกจากวิชาเอกเลือกในกลุ่มต่อไปนี้ ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต

เอกเลือกด้านบริหารธุรกิจและการจัดการ

CI23302

การตลาดดิจิทัล

Digital Marketing

3(2-2-5)

GM22201

กลยุทธ์และการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่

Strategies and Modern Entrepreneurship

3(3-0-6)

GM33302

การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

Logistics and Supply Chain Management

3(2-2-5)

GM38202

การเจรจาต่อรองธุรกิจ

Business Negotiation

3(3-0-6)

เอกเลือกด้านการตลาด

MK12102

พฤติกรรมผู้บริโภค

Consumer Behavior

3(3-0-6)

MK12204

การสร้างแบรนด์

Brand Building

2(1-2-3)

MK12302

การตลาดสำหรับธุรกิจบริการสมัยใหม่

Modern Service Marketing

3(3-0-6)

MK12304

การจัดการการตลาดเชิงกิจกรรม

Event marketing Management

2(1-2-3)

MK12401

การตลาดเชิงสร้างสรรค์

Creative Marketing

3(2-2-5)

MK14302

การตลาดเชิงเนื้อหา

Content Marketing

3(3-0-6)

เอกเลือกด้านอุตสาหกรรมการบริการ

HT21402

กลยุทธ์การจัดการโรงแรม

Hotel Management Strategies

3(3-0-6)

HT32301

การจัดการธุรกิจบริการเชิงสุขภาพ สปา และความงาม

Health, Spa and Beauty Business Management

3(3-0-6)

TM12102

หลักการมัคคุเทศก์

Principles of Tourist Guide

3(2-2-5)

TM22303

การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและจัดนำเที่ยว

Tour Operation Management

3(2-2-5)

เอกเลือกด้านภาษาไทยธุรกิจ (ยกเว้นนักศึกษาที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่ 1) 

IB80101

ภาษาไทยเบื้องต้น 

Introduction to Thai

2(1-2-3)

IB80201

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ 1

Thai for Business communication 1

2(1-2-3)

IB80202

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ 2

Thai for Business communication 2

2(1-2-3)

IB80203

การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ 

Thai for career

2(1-2-3)

เอกเลือกด้านภาษาจีนธุรกิจ (ยกเว้นนักศึกษาที่ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาที่ 1)

IB81101

ภาษาจีนพื้นฐานในชีวิตประจำวัน

Basic Chinese in Daily life

2(1-2-3)

IB81201

ภาษาจีนธุรกิจ 1

Business Chinese 1

2(1-2-3)

IB81202

ภาษาจีนธุรกิจ 2

Business Chinese 2

2(1-2-3)

IB81203

สนทนาภาษาจีนธุรกิจ

Business Chinese Conversation

2(1-2-3)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

     ให้เลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีโดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

3.1.4 แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

12

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB10101

IB10102

IB10201

ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

การออกเสียงภาษาอังกฤษ

การฟังและการพูดเพื่อการสื่อสาร

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB10202

IB10203

GM11101

การอ่านเพื่อการสื่อสาร

การเขียนเพื่อการสื่อสาร

การจัดการสมัยใหม่

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

เฉพาะ(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB20101

IB20201

AC10101    

การสนทนาภาษาอังกฤษทางธุรกิจ 1

การอ่านทางธุรกิจ 1

การบัญชีการเงิน

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

เฉพาะ(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB20203   

EC01101

การเขียนทางธุรกิจ 1

หลักเศรษฐศาสตร์และการประยุกต์ใช้

3(2-2-5)

3(2-2-5)

เฉพาะ(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

5

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ(เอกบังคับ)

MK11101

IB50201

การตลาดสมัยใหม่

เทคโนโลยีในงานธุรกิจระหว่างประเทศ

3(3-0-6)

3(2-2-5)

เฉพาะ(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

8

เลือกเสรี

 

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB30301

BC20104

ภาษาศาสตร์สังคมเพื่องานธุรกิจ

สื่อดิจิทัล

3(3-0-6)

3(2-2-5)

เฉพาะ(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

8

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB40301

IB20301

IB71401

IB71411

การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

การนำเสนองานทางธุรกิจ

ทักษะทางวิชาชีพเพื่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

หรือ

การเตรียมทักษะการศึกษาแบบสหกิจศึกษา

3(2-2-5)

3(2-2-5)

2(1-2-3) 

2(1-2-3)

เฉพาะ(เอกเลือก)

 

เลือกเรียนในวิชาเอกเลือก

5

รวม

11

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ(เอกบังคับ)

IB71402

 

IB71412   

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษธุรกิจ

หรือ

การศึกษาแบบสหกิจศึกษา

5(480)

 

5(480)

รวม

5