หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0901
รหัสหลักสูตร 25481691101395
ภาษาไทย หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Laws

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) นิติศาสตรบัณฑิต
ชื่อย่อ  (ไทย) น.บ.
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Laws
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) LL.B.

 

ปรัชญา

ผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะด้านนิติศาสตร์ มีจริยธรรมสำนึกที่ดีในการนำกฎหมายไปปรับใช้ให้ถูกต้องครบถ้วน ตลอดจนเป็นผู้ที่ถึงพร้อมในทางจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ มีความหนักแน่นมั่นคงในหลักการแห่งความยุติธรรม เพื่อให้เป็นนักกฎหมายที่มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม นำความรู้สู่ท้องถิ่นและประเทศชาติ

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 

  1. มีความรู้ทั้งในภาพรวมและเชิงลึกในบรรดากฎหมายพื้นฐานที่จำเป็นและมีความสำคัญสำหรับการนำไปปรับใช้กับกฎหมายอื่นๆ เพื่อศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไป หรือค้นคว้าวิจัย หรือในการประกอบวิชาชีพ
  2. สามารถใช้กฎหมายได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามหลักวิชาการ มีนิติทัศนะ คุณธรรม และจริยธรรม
  3. มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาข้อกฎหมายอย่างมีความเชื่อมโยงหรือบูรณาการกับศาสตร์อื่น และสามารถหาข้อยุติหรือเสนอทางเลือก โดยคำนึงถึงหลักความยุติธรรมและหลักนิติธรรม
  4. มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างเกื้อกูลและเป็นกัลยาณมิตร มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อชุมชน ท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ รวมไปถึงมีจิตใจให้ความใส่ใจแก่บุคคลหรือสังคมที่เดือดร้อนหรือด้อยโอกาส
  5. มีทักษะการใช้เทคโนโลยี การใช้ภาษาไทย และการใช้ภาษาต่างประเทศที่จำเป็นในการประกอบวิชาชีพกฎหมาย
  6. สามารถให้บริการทางวิชาการและเผยแพร่ความรู้ทางนิติศาสตร์ให้แก่ประชาชนทั่วไป

 

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต

 

รูปแบบของหลักสูตร

  1. รูปแบบ

เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชานิติศาสตร์ พ.ศ.2561 และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2558

  1. ประเภทหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ

สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา รับรองหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ตามหนังสือเลขที่ 1403/2552 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2552

สำนักฝึกอบรมวิชาว่าความแห่งสภาทนายความ รับรองหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ตามหนังสือเลขที่ สอ.162/2553 ลงวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2553

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 

  1. อาชีพที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย เมื่อสอบผ่านตามหลักเกณฑ์การสมัครของอาชีพนั้นๆ

          1.1 นิติกร ปลัดอำเภอ ปลัดเทศบาล
          1.2 นักกฎหมายในหน่วยงานของเอกชน
          1.3 ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย
          1.4 ทนายความ
          1.5 ตำรวจ พนักงานสอบสวน เจ้าหน้าที่สอบสวนคดี
          1.6 อนุญาโตตุลาการ
          1.7 ตุลาการศาลปกครอง
          1.8 ทหาร นายทหารพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
          1.9 อาชีพอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายในหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน และองค์กร อิสระ

  1. อาชีพที่สามารถปฏิบัติได้หลังจากสอบได้เนติบัณฑิตไทยและสอบผ่านตามหลักเกณฑ์การสมัครของอาชีพนั้นๆ

          2.1 ผู้พิพากษา 
          2.2 อัยการ

 

ระบบการจัดการศึกษา 

  1. ระบบ 

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ 

  1. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน 

การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2564) อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ทั้งนี้ การกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต ให้มีสัดส่วนเทียบเคียงได้กับภาคการศึกษาปกติ

 

ระยะเวลาการศึกษา

  1. ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
  3. ภาคฤดูร้อนเดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม 

ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

  1. จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียนแต่ละภาคการศึกษา

    ให้ลงทะเบียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อน หากต้องลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)

     

  2. ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน

    ให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาประกอบด้วยหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี ซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระบบปริญญาตรี สาขาวิชานิติศาสตร์ พ.ศ.2561 โดยมีสัดส่วนจำนวนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชา ดังนี้

  1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
  2. หมวดวิชาเฉพาะ 103 หน่วยกิต
    • วิชาเอกบังคับ   91  หน่วยกิต
    • วิชาเอกเลือก   12    หน่วยกิต
  1. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

 

หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร

การกำหนดรหัสรายวิชา ในหลักสูตรมีการกำหนดให้มีรหัสจำนวน 7 ตำแหน่ง ประกอบด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ 2 ตำแหน่ง และตัวเลข 5 ตำแหน่ง โดยมีความหมายดังนี้

ตำแหน่งที่ 1-2 หมายถึง หลักสูตร หรือสาขาวิชา
GE หมายถึง รายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป
LA หมายถึง รายวิชาในหลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์

ตำแหน่งที่ 3-4 หมายถึง หมวดวิชา หรือกลุ่มวิชา
10 กลุ่มวิชาเอกบังคับ สาขาวิชานิติศาสตร์
11 กลุ่มวิชาเอกเลือก สาขาวิชานิติศาสตร์
12 กลุ่มวิชาที่เปิดสอนให้หลักสูตรอื่น

ตำแหน่งที่ 5 หมายถึง ชั้นปี หรือความยากง่าย
1 หมายถึง ชั้นปีที่ 1
2 หมายถึง ชั้นปีที่ 2
3 หมายถึง ชั้นปีที่ 3
4 หมายถึง ชั้นปีที่ 4 หรือวิชาเอกเลือก สาขาวิชานิติศาสตร์

ตำแหน่งที่ 6-7 หมายถึง ลำดับก่อน-หลัง ของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ 103 หน่วยกิต

     2.1) วิชาเอกบังคับ  91 หน่วยกิต

LA10101

ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย

Thai Legal History

2(2-0-4)

LA10102

กฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไปและบุคคล

Civil Law: Basic Principle of Law and Persons

2(2-0-4)

LA10103

หลักกฎหมายมหาชน

Principles of Public Law

3(3-0-6)

LA10104

นิติตรรกศาสตร์ การอ่านเชิงวิเคราะห์และการเขียนอย่างมีประสิทธิผล

Legal Reasoning, Critical Reading, and Effective Writing

2(2-0-4)
LA10105

ภาษากฎหมายไทย

Thai Legal Language

2(2-0-4)
LA10106

นิติปรัชญา

Philosophy of Law

2(2-0-4)
LA10107

กฎหมายอาญา 1: ภาคทั่วไป

Criminal Law 1: General Principles

2(2-0-4)
LA10108

กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

Criminal Law 2: Criminal Offences

3(3-0-6)
LA10109

กฎหมายลักษณะนิติกรรมสัญญา

Law of Juristic Acts and Contract

3(3-0-6)
LA10110

กฎหมายลักษณะละเมิด การจัดการงานนอกสั่งลาภมิควรได้

Law of Torts, Management of Affairs without Mandate, and Undue Enrichment

3(3-0-6)
LA10111

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

Constitutional Law

2(2-0-4)
LA10112

เอกเทศสัญญา 1

Specific Contracts 1

3(3-0-6)
LA10201

เอกเทศสัญญา 2

Specific Contracts 2

3(3-0-6)
LA10202

กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป

Law of Obligations: General Principles

2(2-0-4)
LA10203

กฎหมายลักษณะทรัพย์สินและที่ดิน

Law of Property and Land

3(3-0-6)
LA10204

กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

Administrative Law and Administrative Procedural Law

2(2-0-4)
LA10206

 กฎหมายลักษณะตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด

Law of Bills and Current Account

3(3-0-6)
LA10207

กฎหมายลักษณะครอบครัว

Family Law

3(3-0-6)
LA10208

กฎหมายลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท

Law of Partnership and Company

3(3-0-6)
LA10209

ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 1

English for Lawyers 1

2(1-2-3)
LA10210

ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 2

English for Lawyers 2

2(1-2-3)
LA10301

กฎหมายลักษณะมรดก

Law of Succession

3(3-0-6)
LA10302

กฎหมายค้ำประกัน จำนอง จำนำ

Law of Secured Transactions by Person or Property

3(3-0-6)
LA10303

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1

Civil Procedural Law 1

3(3-0-6)
LA10304

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2

Civil Procedural Law 2

3(3-0-6)
LA10305

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

Criminal Procedural Law

3(3-0-6)
LA10306

กฎหมายแรงงานและวิธีพิจารณาคดีในศาลแรงงาน

Labour Law and Labour Procedural Law

2(2-0-4)
LA10307

กฎหมายภาษีอากร

Tax Law

2(2-0-4)
LA10308

กฎหมายลักษณะพยาน

Law of Evidence

3(3-0-6)
LA10309

กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง

Public International Law

2(2-0-4)
LA10401

กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

Private International Law

2(2-0-4)
LA10402

ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

Judicial System and Law for Courts of Justice’s Organization

2(2-0-4)
LA10403

กฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ

Law of Bankruptcy and Reorganization

3(3-0-6)
LA10404

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและวิธีพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญา

Intellectual Property Law and Intellectual Property Procedural Law

3(3-0-6)
LA10405

การว่าความและศาลจำลอง

Advocacy and Moot Court

2(1-2-3)
LA10406

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

Field Experience in Law

3(480)

     2.2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

กลุ่มวิชานิติศึกษาทั่วไป (General Legal Courses)

LA11410

หลักวิชาชีพนักกฎหมาย

Principles of Legal Profession

2(2-0-4)
LA11411

การศึกษากฎหมายเชิงคลินิก

Clinical Legal Education

2(1-2-3)

LA11412

คลินิกเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่ชุมชน

Community Legal Education Clinic

2(1-2-3)
LA11413

ระเบียบวิธีวิจัยทางกฎหมาย

Legal Research Methodology

2(1-2-3)

กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน (Public Law Courses)

LA11421

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

Environmental Law

2(2-0-4)
LA11422

กฎหมายเกี่ยวกับการเกษตร

Agricultural Law

2(2-0-4)

LA11423

กฎหมายพลังงาน

Energy Law

2(2-0-4)
LA11424

กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว

Law of Child Protection and Juvenile and Family Procedural Law

2(2-0-4)
LA11425

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและวิธีพิจารณาคดีคุ้มครองผู้บริโภค

Consumer Protection Law and Consumer Protection Procedural Law

2(2-0-4)
LA11426

กฎหมายการสื่อสารและจริยธรรมในการสื่อสาร

Law of Communication and Ethics

2(2-0-4)
LA11427

กฎหมายข้อมูลข่าวสารและสิทธิส่วนบุคคล

Law of Information and Private Rights

2(2-0-4)
LA11428

กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ

Organic Law

2(2-0-4)
LA11429

กฎหมายการปกครองท้องถิ่นและการเลือกตั้ง

Law of Local Administration and Election

2(2-0-4)
LA11430

สัมมนากฎหมายกับปัญหาสังคม

Seminar on Law and Social Problems

2(1-2-3)
LA11431

สัมมนากฎหมายปกครอง

Seminar on Administrative Law

2(1-2-3)
LA11432

สัมมนากฎหมายรัฐธรรมนูญ

Seminar on Constitutional Law

2(1-2-3)

กลุ่มวิชากฎหมายอาญา (Criminal Law Courses)

LA11433

นิติวิทยาศาสตร์

Forensic Science

2(2-0-4)
LA11434

อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา

Criminology and Penology

2(2-0-4)

LA11435

 สัมมนากฎหมายอาญา

Seminar on Criminal Law

2(1-2-3)

กลุ่มวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความ (Procedural Law Courses)

LA11436

การระงับข้อพิพาททางเลือก

Alternative Dispute Resolution

2(2-0-4)
LA11437

สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

Seminar on Civil Procedural Law

2(1-2-3)

LA11438

สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

Seminar on Criminal Procedure Law

2(1-2-3)

กลุ่มวิชากฎหมายระหว่างประเทศ (International Law Courses)

LA11439

กฎหมายการขนส่ง

Law of Transportations

2(2-0-4)
LA11440

กฎหมายพาณิชยนาวี

Maritime Law

2(2-0-4)
LA11441

กฎหมายศุลกากร

Customs Law

2(2-0-4)
LA11442

กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

International Trade Law

2(2-0-4)
LA11443

หลักการภาษีระหว่างประเทศ

International Taxation

2(2-0-4)
LA11444

กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยอากาศ

International Space Law

2(2-0-4)
LA11445

กฎหมายประชาคมอาเซียน

Law of ASEAN Community

2(2-0-4)
LA11446

สัมมนากฎหมายระหว่างประเทศ

Seminar on International Law

2(1-2-3)
LA11447

กฎหมายว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

Human Rights Law

2(2-0-4)

     2.3) วิชาที่เปิดสอนให้หลักสูตรอื่น 6 หน่วยกิต

LA12101

กฎหมายธุรกิจ

Business Law

3(3-0-6
LA12401

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

Introduction to Intellectual Property Law

3(3-0-6

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10101

ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย

2(2-0-4)

LA10102

กฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไปและบุคคล

2(2-0-4)

LA10103

หลักกฎหมายมหาชน

3(3-0-6)

LA10104

นิติตรรกศาสตร์ การอ่านเชิงวิเคราะห์ และการเขียนอย่างมีประสิทธิผล

2(2-0-4)

LA10106

นิติปรัชญา

2(2-0-4)

LA10107

กฎหมายอาญา 1: ภาคทั่วไป

2(2–0-4)

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10105

ภาษากฎหมายไทย

2(2-0-4)

LA10108

กฎหมายอาญา 2: ภาคความผิด

3(3–0-6) 

LA10109

กฎหมายลักษณะนิติกรรมสัญญา

3(3–0-6)

LA10110

กฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ 

3(3–0-6)

LA10111

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

2(2-0-4)

LA10112

เอกเทศสัญญา 1 

3(3–0-6)

รวม

22

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10201

เอกเทศสัญญา 2

3(3-0-6)

LA10202

กฎหมายลักษณะหนี้: หลักทั่วไป

2(2-0-4)

LA10203

กฎหมายลักษณะทรัพย์สินและที่ดิน

3(3-0-6)

LA10204

กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

2(2-0-4)

LA10209

ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 1

2(1-2-3)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10206

กฎหมายลักษณะตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด

3(3–0-6)

LA10207

กฎหมายลักษณะครอบครัว 

3(3–0-6)

LA10208

กฎหมายลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท

3(3–0-6)

LA10210

ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 2

2(1–2-3)

เฉพาะ

(วิชาเอกเลือก)

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเอกเลือก)

4

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10301

กฎหมายลักษณะมรดก

3(3–0-6)

LA10302

กฎหมายค้ำประกัน จำนอง จำนำ

3(3–0-6)

LA10303

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1

3(3–0-6)

LA10305

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

3(3–0-6)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10304

กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2 

3(3-0-6)

LA10306

กฎหมายแรงงานและวิธีพิจารณาคดีในศาลแรงงาน

2(2–0-4)

LA10307

กฎหมายภาษีอากร

2(2-0-4)

LA10308

กฎหมายลักษณะพยาน 

3(3–0-6)

LA10309

กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง 

2(2-0-4)

เฉพาะ

(วิชาเอกเลือก)

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ (วิชาเอกเลือก)

6

เลือกเสรี

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

3

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10401

กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

2(2–0-4)

LA10402

ระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

2(2-0-4)

LA10403

กฎหมายล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการ

3(3-0-6)

LA10404

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและวิธีพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญา

3(3–0-6)

LA10405

การว่าความและศาลจำลอง

2(1-2-3)

เฉพาะ

(วิชาเอกเลือก)

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ 

(วิชาเอกเลือก)

2

เลือกเสรี

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

3

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(วิชาเอกบังคับ)

LA10406

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

3(480)

รวม

3