หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 0334
รหัสหลักสูตร 25481691101338
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Thai for Communication

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศศ.บ. (ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Arts (Thai for Communication)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.A. (Thai for Communication)

 

ปรัชญา

มุ่งเน้นให้บัณฑิตมีความสามารถด้านการใช้ภาษาไทย  เพื่อนำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิผล

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2564  มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้

  1. มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ และปฏิบัติตามกฎระเบียบขององค์กรและสังคม
  2. มีความรอบรู้ในภาษาและวัฒนธรรมไทย ตลอดจนสามารถสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
  3. มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถประยุกต์ใช้ภาษาไทยได้ดี
  4. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี
  5. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

ระบบการจัดการศึกษา

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค  โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น  2  ภาคการศึกษาปกติ  มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า  15  สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน  ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

การดำเนินการหลักสูตร

  1. วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
    • ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม
    • ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
    • ภาคฤดูร้อน เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม

    ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา
    และไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

  2. การลงทะเบียนเรียน
    • จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน
      ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิตในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อน หากต้องลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)
    • ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน
      เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 6 (ภาคผนวก ค)
  3. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา
    เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 9 และหมวด 10 (ภาคผนวก ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 130  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
      • กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต

      • กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต

      • กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต

      • กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต

    • หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต
      • วิชาเอกบังคับ 46 หน่วยกิต
      • วิชาเอกเลือก 48 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
  3. รายวิชา หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร

 

การกำหนดรหัสรายวิชาในหลักสูตรมีการกำหนดให้มีรหัสจำนวน 7 หน่วยประกอบด้วยอักษร 2 หน่วย และตัวเลข 5 หน่วยโดยมีความหมายดังนี้

ตัวอักษร TC หมายถึง หลักสูตรหรือสาขาวิชา
เลขตัวที่ 3,4 หมายถึง หมวดวิชาหรือกลุ่มวิชา
เลขตัวที่ 5 หมายถึง ชั้นปีหรือความยากง่าย
เลขตัวที่ 6,7 หมายถึง ลำดับก่อน-หลังของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 94 หน่วยกิต

     2.1) วิชาเอกบังคับ 46 หน่วยกิต

TC01103

ลักษณะภาษาไทย

Characteristics of Thai Language

3(3-0-6)

TC03101

การพัฒนาทักษะการฟังและการพูด

Listening and Speaking Skill Development

3(2-2-5)

TC03102

การพัฒนาทักษะการอ่าน

Reading Skill Development

3(2-2-5)

TC03103

การพัฒนาทักษะการเขียน

Writing Skill Development

3(2-2-5)

TC03203

การพูดในที่ประชุมชน

Public Speaking

3(2-2-5)
TC03305

การเขียนเชิงธุรกิจ

Business Writing

3(2-2-5)
TC04101

ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย

Introduction to Thai Literature

3(3-0-6)
TC04102

วรรณกรรมไทยปัจจุบัน

Thai Contemporary Literature

3(3-0-6)
TC04301

การวิจารณ์วรรณกรรมและศิลปะบันเทิง

Literary Criticism

3(3-0-6)
TC05203

ภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย

Thai Language  Society and Culture

3(3-0-6)
TC06101

หลักและกระบวนการสื่อสาร

Principles and Processes of Communication

3(3-0-6)
TC07202

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับภาษาไทย

Information Technology for Thai Language

3(2-2-5)
TC08401

การวิจัยทางภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Thai  Language  for Communication  Research

3(2-2-5)
TC09401

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Preparation for Professional Experience

2(1-2-3)
TC09402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Professional Internship

 5(480)

     2.2) วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

TC01101

สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษ

English Phonetics and Phonology

3(3-0-6)
TC02201

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Foreign Language in Thai

3(3-0-6)

TC02301

กวีนิพนธ์ไทย

Thai Poetry

3(2-2-5)
TC03204

ศิลปะการอ่านออกเสียง

Arts of Elocution

3(2-2-5)
TC03205

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์

Speaking  for Public Relations

3(2-2-5)
TC03207

ลีลาภาษาในวรรณกรรมไทย

Styles of Thai Literary works

3(2-2-5)
TC03301

การเขียนสารคดี

Feature Writing

3(2-2-5)
TC03303

ภาษาไทยในสื่อมวลชน

Thai Language in Mass Media

3(3-0-6)
TC03304

ศิลปะการพูดในสื่อสารมวลชน

Speech Mass Communication Arts

3(2-2-5)
TC03306

การเขียนเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

Advertising and Public Relations Writing

3(2-2-5)
TC03307

การเขียนข่าวและการสื่อข่าว

Basic News Writing and Reporting

3(2-2-5)
TC03308

การเขียนเชิงสร้างสรรค์

Creative Writing

3(2-2-5)
TC03310

การเขียนบทความ

Article Writing

3(2-2-5)
TC04202

การแปรรูปวรรณกรรม

Transformation of Literary Works

3(2-2-5)
TC04302

วรรณกรรมเพลงไทย

Thai Song Study

3(3-0-6)
TC04304

วรรณกรรมสังคมและการเมือง

Social and Political Literature

3(3-0-6)
TC05303

ภาษาและวัฒนธรรมอาเซียน

ASEAN Languages and Cultures

3(3-0-6)
TC05401

คติชนสมัยใหม่

Modern Folklore

3(2-2-5)
TC05402

บุคลิกภาพและมารยาทสังคม

Personality and Social Etiquettes

3(2-2-5)
TC06201

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในองค์การ

Thai for Organization Communication

3(2-2-5)
TC06301

การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม

Intercultural Communication

3(3-0-6)
TC07303

การจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ภาษาไทย

Thai Language Print Media Production

3(2-2-5)
TC08201

เทคนิคการประชุมสัมมนาและการฝึกอบรม

Conference and TrainingTechniques

3(2-2-5)
TC08403

สัมมนาการใช้ภาษาไทยในวงการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่

Seminar on Thai in Mass Media and New Media

3(2-2-5)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่  1      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC01103

ลักษณะภาษาไทย 

3 (3–0-6)

TC03101

การพัฒนาทักษะการฟังและการพูด

3 (2-2-5)

TC04101

ความรู้พื้นฐานทางวรรณคดีไทย

3 (3-0-6)

TC06101

หลักและกระบวนการสื่อสาร

3 (3–0-6)

รวม

18

 

ชั้นปีที่  1      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC03103

การพัฒนาทักษะการเขียน

3 (2–2-5)

TC03102

การพัฒนาทักษะการอ่าน

3 (2–2-5)

TC03203

การพูดในที่ประชุมชน

3 (2-2-5)

TC04102

วรรณกรรมไทยปัจจุบัน

3 (3–0-6)

รวม

18

 

ชั้นปีที่  2      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC07202

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับภาษาไทย

3 (2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  2      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC05203

ภาษากับสังคมและวัฒนธรรมไทย

3 (3–0-6)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx 

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  3      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC04301

การวิจารณ์วรรณกรรมและศิลปะบันเทิง  

3 (3–0-6)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

รวม

18

 

ชั้นปีที่  3      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC03305

การเขียนเชิงธุรกิจ 

3 (2-2-5)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

12

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี  

2-3

รวม

17-18

 

ชั้นปีที่  4      ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC08401

การวิจัยทางภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

3 (2-2-5)

TC09401

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2 (1-2-3)

เฉพาะ

(เอกเลือก)

Xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก

9

รวม

14

 

ชั้นปีที่  4      ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ

(เอกบังคับ)

TC09402

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5 (480)

รวม

5

 

หมายเหตุ 

นักศึกษาจะต้องเรียนวิชาในหมวดวิชาเอกบังคับและมีผลการเรียนผ่านทุกรายวิชาในหมวดดังกล่าว จึงจะสามารถลงทะเบียนเรียนวิชา TC09402 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้

 

อาจารย์ผู้สอน