หลักสูตรศิลปบัณฑิต

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 1273
รหัสหลักสูตร 25481691101597
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปบัณฑิต  สาขาวิชาดนตรี
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Fine Arts Program in Music

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปบัณฑิต (ดนตรี)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศล.บ. (ดนตรี)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Fine Arts (Music)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.F.A. (Music)

 

ปรัชญา

มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถทางดนตรีสากล ผสมผสานกับความรู้ เอกลักษณ์ของดนตรีไทยและดนตรีพื้นบ้านอีสาน สามารถนำเทคโนโลยีทางดนตรีมาสร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรี สามารถนำความรู้และทักษะด้านดนตรีไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตในวิชาชีพของตนเองได้ให้เหมาะกับท้องถิ่นและผสมผสานความเป็นสากล

 

วัตถุประสงค์

  1. มีความรู้ด้านดนตรีสากล ผสมผสานกับดนตรีไทยและดนตรีพื้นบ้านอีสาน
  2. มีทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล ดนตรีไทยหรือดนตรีพื้นบ้านอีสาน
  3. ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะดนตรี และเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรม การแสดง และ การสร้างสรรค์ผลงานตลอดจนการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แสวงหาความรู้ด้วยตนเองเพื่อประโยชน์ในการศึกษา
  4. มีภาวะผู้นำ มีความคิดในการวิเคราะห์ปัญหาได้บนพื้นฐานของตนเอง ของกลุ่ม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
  5. มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ทางดนตรีอย่างถูกต้อง สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือสถิติ สามารถใช้สารสนเทศและรูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
  6. เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีความรับผิดชอบ

 

ระบบการจัดการศึกษา

  1. ระบบ

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาคโดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ  มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า15  สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลา  ไม่น้อยกว่า  8  สัปดาห์

  1. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การจัดการเรียนการสอนภาคเรียนฤดูร้อน  ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรศิลปบัณฑิต  สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ  อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลา  ไม่น้อยกว่า  8  สัปดาห์

  1. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

ไม่มี

 

ระยะเวลาการศึกษา

เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาศิลปกรรมศาสตร์  พ.ศ. 2558

  1. ภาคการศึกษาที่  1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์
  3. ภาคฤดูร้อน (ถ้ามี)เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม

 

การลงทะเบียนเรียน

  1. จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน

    ให้ลงทะเบียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคการศึกษาฤดูร้อน  หากต้องลงทะเบียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับ  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2561 หมวด 6 (ภาคผนวก  ค)

  2. ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน

    ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี  พ.ศ.2561หมวด 6 (ภาคผนวก  ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 135  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2552 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเฉพาะด้าน 99 หน่วยกิต
      1. วิชาแกน 24 หน่วยกิต
      2. วิชาเอกบังคับ 30  หน่วยกิต
      3. วิชาเอกเลือก 45 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

แผนการศึกษา สาขาวิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวม 8  ภาคการศึกษา จำนวน 135 หน่วยกิต

ชั้นปีที่  1  ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(วิชาเอกแกน)

MS00001

โสตทักษะ

1(0-2-1)

MS00002

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 1

3(3-0-6)

MS00004

การขับร้องประสานเสียง 1

1(0-2-1)

MS00101

ปฏิบัติดนตรีไทยขั้นพื้นฐาน

3(2-2-5)

เฉพาะ(วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาปฏิบัติดนตรีในระดับที่ 1

3(1-4-4)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

3-4

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  1  ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(วิชาแกน)

MS00005

การขับร้องประสานเสียง 2

1(0-2-1)

MS00006

ประวัติดนตรีตะวันตก

3(3-0-6)

MS00201

ดนตรีพื้นบ้านอีสาน

3(2-2-5)

เฉพาะ(วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาปฏิบัติดนตรีในระดับที่ 2

3(1-4-4)

MSxxxxx

เลือกเรียนรวมวงดนตรี 1

1(0-2-1)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

3-4

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  2  ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(วิชาเอกบังคับ)

 

MS01200

ดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้

2(0-4-2)

MS01300

เทคโนโลยีเครื่องเสียง

3(2-2-5)

เฉพาะ (วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาปฏิบัติดนตรีในระดับที่ 3

3(1-4-4)

MSxxxxx

เลือกเรียนรวมวงดนตรี 2

1(0-2-1)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

4

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

21-22

 

ชั้นปีที่  2    ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะ(วิชาแกน)

MS00301

ธุรกิจดนตรี

3(3-0-6)

เฉพาะ (วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาปฏิบัติดนตรีในระดับที่ 4

3(1-4-4)

MSxxxxx

เลือกเรียนรวมวงดนตรี 3

1(0-2-1)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

6

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

21-22

 

ชั้นปีที่  3    ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

3

เฉพาะ(วิชาแกน)

MS00003

ปฏิบัติคีย์บอร์ดขั้นพื้นฐาน

2(0-4-2)

เฉพาะ(วิชาเอกบังคับ)

MS01110

ดนตรีไทย

3(2-2-5)

MS01302

การผลิตผลงานดนตรี 1

3(2-2-5)

เฉพาะ(วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนรวมวงดนตรี 4

1(0-2-1)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

6

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2-3

รวม

20-21

 

ชั้นปีที่  3    ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

3-6

เฉพาะ(วิชาแกน)

MS00401

การแสดงดนตรี

2(1-2-3)

เฉพาะ(วิชาเอกบังคับ)

MS01003

อำนวยเพลง

2(1-2-3)

MS01303

การผลิตผลงานดนตรี 2

3(2-2-5)

MS01400

เค้าโครงดุริยนิพนธ์

3(2-2-5)

เฉพาะ (วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

6

รวม 

19-22

 

ชั้นปีที่  4    ภาคการศึกษาที่  1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ(วิชาแกน)

MS00501

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

2(1-2-3)

เฉพาะ (วิชาเอกบังคับ)

MS01301

คอมพิวเตอร์ดนตรี

3(2-2-5)

MS01401

ดุริยนิพนธ์

3(2-2-5)

เฉพาะ (วิชาเอกเลือก)

MSxxxxx

เลือกเรียนในกลุ่มวิชาทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง

2-3

รวม

9-10

 

ชั้นปีที่  4    ภาคการศึกษาที่  2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะ(วิชาเอกบังคับ)

MS01500

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

5(480)

รวม

5

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต

     2.1) วิชาแกน 24 หน่วยกิต

MS00001

โสตทักษะ

Ear Training

1(0-2-1)

MS00002

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 1

Western Music Theory 1

3(3-0-6)

MS00003

ปฏิบัติคีย์บอร์ดขั้นพื้นฐาน

Basic Keyboard Skill

2(0-4-2)

MS00004

การขับร้องประสานเสียง 1

Choir 1

1(0-2-1)

MS00005

การขับร้องประสานเสียง 2

Choir 2

1(0-2-1)
MS00006

ประวัติดนตรีตะวันตก

History of Western Music

3(3-0-6)
MS00101

ปฏิบัติดนตรีไทยขั้นพื้นฐาน

Music Instrument Fundamental

3(2-2-5)
MS00201

ดนตรีพื้นบ้านอีสาน

Isan Music

3(2-2-5)
MS00301

ธุรกิจดนตรี

Music Business

3(3-0-6)
MS00401

การแสดงดนตรีเดี่ยว

Recital

2(1-2-3)
MS00501

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

Preparation for Music Internship

2(1-2-3)

     2.2) วิชาเอกบังคับ 30 หน่วยกิต

MS01003

อำนวยเพลง

Conducting

2(1-2-3)
MS01100

ดนตรีไทย

Thai Music

3(2-2-5)

MS01200

ดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้

Southern Isan Music

2(0-4-2)
MS01300

เทคโนโลยีเครื่องเสียง

Audio Technology

3(2-2-5)
MS01301

การใช้คอมพิวเตอร์ในทางดนตรี

Computer used in Music

3(2-2-5)
MS01302

การผลิตผลงานดนตรี 1

Music Production 1

3(2-2-5)
MS01303

การผลิตผลงานดนตรี 2

Music Production 2

3(2-2-5)
MS01400

เค้าโครงดุริยนิพนธ์

Proposal Thesis

3(2-2-5)

MS01401

ดุริยนิพนธ์ 

Thesis

3(2-2-5)
MS01500

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพดนตรี

Music Internship

5(480)

     2.3) วิชาเอกเลือก 45 หน่วยกิต

             2.3.1) วิชาเอกเลือกปฏิบัติดนตรี

ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรีต่อไปนี้เพียงกลุ่มเดียว 12 หน่วยกิต

  • วิชาปฏิบัติเครื่องลมไม้ 12 หน่วยกิต
MS02001

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 1

Woodwind Skill 1

3(1-4-4)

MS02002

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 2

Woodwind Skill 2

3(1-4-4)

MS02003

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 3

Woodwind Skill 3

3(1-4-4)

MS02004

ปฏิบัติเครื่องลมไม้ 4

Woodwind Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 12 หน่วยกิต
MS02011

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1

Brass Skill 1

3(1-4-4)

MS02012

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2

Brass Skill 2

3(1-4-4)

MS02013

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3

Brass Skill 3

3(1-4-4)

MS02014

ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4

Brass Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติกีตาร์ 12 หน่วยกิต
MS02001

ปฏิบัติกีตาร์ 1

Guitar Skill 1

3(1-4-4)

MS02002

ปฏิบัติกีตาร์ 2

Guitar Skill 2

3(1-4-4)

MS02003

ปฏิบัติกีตาร์ 3

Guitar Skill 3

3(1-4-4)

MS02004

ปฏิบัติกีตาร์ 4

Guitar Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องกระทบ 12 หน่วยกิต
MS02031

ปฏิบัติเครื่องกระทบ 1

Western Percussion Skill 1

3(1-4-4)

MS02032

ปฏิบัติเครื่องกระทบ 2

Western Percussion Skill 2

3(1-4-4)

MS02033

ปฏิบัติเครื่องกระทบ 3

Western Percussion Skill 3

3(1-4-4)

MS02034

ปฏิบัติเครื่องกระทบ 4

Western Percussion Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องสายตะวันตก 12 หน่วยกิต
MS02041

ปฏิบัติเครื่องสายตะวันตก 1

Western String Skill 1

3(1-4-4)

MS02042

ปฏิบัติเครื่องสายตะวันตก 2

Western String Skill 2

3(1-4-4)

MS02043

ปฏิบัติเครื่องสายตะวันตก 3

Western String Skill 3

3(1-4-4)

MS02044

ปฏิบัติเครื่องสายตะวันตก 4

Western String Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติขับร้องสากล 12 หน่วยกิต
MS02051

ปฏิบัติขับร้องสากล 1

Voice Skill 1

3(1-4-4)

MS02052

ปฏิบัติขับร้องสากล 2

Voice Skill 2

3(1-4-4)

MS02053

ปฏิบัติขับร้องสากล 3

Voice Skill 3

3(1-4-4)

MS02054

ปฏิบัติขับร้องสากล 4

Voice Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติคีย์บอร์ด 12 หน่วยกิต
MS02061

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 1

Keyboard Skill 1

3(1-4-4)

MS02062

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 2

Keyboard Skill 2

3(1-4-4)

MS02063

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 3

Keyboard Skill 3

3(1-4-4)

MS02064

ปฏิบัติคีย์บอร์ด 4

Keyboard Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องดีดไทย 12 หน่วยกิต
MS02101

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 1

Thai Pluck Skill 1

3(1-4-4)

MS02102

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 2

Thai Pluck Skill 2

3(1-4-4)

MS02103

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 3

Thai Pluck Skill 3

3(1-4-4)

MS02104

ปฏิบัติเครื่องดีดไทย 4

Thai Pluck Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องสีไทย 12 หน่วยกิต
MS02111

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 1

Thai String Skill 1

3(1-4-4)

MS02112

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 2

Thai String Skill 2

3(1-4-4)

MS02113

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 3

Thai String Skill 3

3(1-4-4)

MS02114

ปฏิบัติเครื่องสีไทย 4

Thai String Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องตีไทย 12 หน่วยกิต
MS02121

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 1

Thai Percussion Skill 1

3(1-4-4)

MS02122

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 2

Thai Percussion Skill 2

3(1-4-4)

MS02123

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 3

Thai Percussion Skill 3

3(1-4-4)

MS02124

ปฏิบัติเครื่องตีไทย 4

Thai Percussion Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 12 หน่วยกิต
MS02131

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 1

Thai Wind Skill 1

3(1-4-4)

MS02132

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 2

Thai Wind Skill 2

3(1-4-4)

MS02133

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 3

Thai Wind Skill 3

3(1-4-4)

MS02134

ปฏิบัติเครื่องเป่าไทย 4

Thai Wind Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 12 หน่วยกิต
MS02141

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 1

Thai Singing Skill 1

3(1-4-4)

MS02142

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 2

Thai Singing Skill 2

3(1-4-4)

MS02143

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 3

Thai Singing Skill 3

3(1-4-4)

MS02144

ปฏิบัติขับร้องเพลงไทย 4

Thai Singing Skill 4

3(1-4-4)

  • วิชาปฏิบัติดนตรีพื้นบ้านอีสาน 12 หน่วยกิต
MS02201

ปฏิบัติดนตรีพื้นบ้านอีสาน 1

Isan Music Skill 1

3(1-4-4)

MS02202

ปฏิบัติดนตรีพื้นบ้านอีสาน 2

Isan Music Skill 2

3(1-4-4)

MS02203

ปฏิบัติดนตรีพื้นบ้านอีสาน 3

Isan Music Skill 3

3(1-4-4)

MS02204

ปฏิบัติดนตรีพื้นบ้านอีสาน 4

Isan Music Skill 4

3(1-4-4)

ให้นักศึกษาเลือกเรียนวิชาปฏิบัติรวมวงให้สอดคล้องกับวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรี เพียงหนึ่งกลุ่ม 4 หน่วยกิต

  • วิชาปฏิบัติรวมวงดนตรีตะวันตก 4 หน่วยกิต
MS02071

รวมวงดนตรีตะวันตก 1

Western Ensemble 1

1(0-2-1)

MS02072

รวมวงดนตรีตะวันตก 2

Western Ensemble 2

1(0-2-1)

MS02073

รวมวงดนตรีตะวันตก 3

Western Ensemble 3

1(0-2-1)

MS02074

รวมวงดนตรีตะวันตก 4

Western Ensemble 4

1(0-2-1)
  • วิชาปฏิบัติรวมวงดนตรีไทย 4 หน่วยกิต
MS02151

รวมวงดนตรีไทย 1

Thai Ensemble 1

1(0-2-1)

MS02152

รวมวงดนตรีไทย 1

Thai Ensemble 1

1(0-2-1)

MS02153

รวมวงดนตรีไทย 1

Thai Ensemble 1

1(0-2-1)

MS02154

รวมวงดนตรีไทย 1

Thai Ensemble 1

1(0-2-1)

  • วิชาปฏิบัติรวมวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน 4 หน่วยกิต
MS02205

รวมวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน 1

Isan Ensemble 1

1(0-2-1)

MS02206

รวมวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน 2

Isan Ensemble 2

1(0-2-1)

MS02207

รวมวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน 3

Isan Ensemble 3

1(0-2-1)

MS02208

รวมวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน 4

Isan Ensemble 4

1(0-2-1)

             2.3.2) วิชาเอกเลือกทฤษฎีดนตรีและการประพันธ์เพลง 29 หน่วยกิต

  • ให้นักศึกษาเรียนวิชาการวิเคราะห์ดนตรีต่อไปนี้ให้สอดคล้องกับวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรี เพียงหนึ่งรายวิชาอย่างน้อย 3 หน่วยกิต
MS02075

คีตลักษณ์และการวิเคราะห์ดนตรีตะวันตก

Western Music Form and Analysis

3(3-0-6)

MS02155

คีตลักษณ์และการวิเคราะห์ดนตรีไทย

Thai Music Form and Analysis

3(3-0-6)

MS02209

คีตลักษณ์และการวิเคราะห์ดนตรีพื้นบ้านอีสาน

Isan Music Form and Analysis

3(3-0-6)
  • ให้นักศึกษาเรียนวิชาการประพันธ์ต่อไปนี้ให้สอดคล้องกับวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรี เพียงหนึ่งรายวิชาอย่างน้อย 3 หน่วยกิต
MS02076

การประพันธ์เพลง 1

Music Composition 1

3(2-2-5)

MS02156

การประพันธ์ดนตรีไทย

Thai Music Composition

3(2-2-5)

MS02210

การประพันธ์เพลงพื้นบ้านอีสาน

Isan Folk Music Composition

3(2-2-5)
  • ให้นักศึกษาที่เลือกเรียนรายวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลให้เรียนวิชาเอกเลือกดังต่อไปนี้
MS02077

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 2

Western Music Theory 2

3(3-0-6)

MS02078

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 3

Western Music Theory 3

3(3-0-6)

MS02079

การเรียบเรียงเสียงประสานวงออร์เคสตรา

Orchestration

3(2-2-5)

  • ให้นักศึกษาที่เลือกเรียนรายวิชาปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยให้เรียนวิชาเอกเลือกดังต่อไปนี้ 9 หน่วยกิต

MS02157

ทฤษฎีดนตรีไทย

Theory of Thai traditional Music

3(3-0-6)
MS02158

โน้ตเพลงไทย

Thai music Notation

3(3-0-6)

MS02159

การขับร้องเพลงไทย

Thai traditional Singing

3(2-2-5)

  • ให้นักศึกษาที่เลือกเรียนรายวิชาปฏิบัติเครื่องพื้นบ้านอีสานให้เรียนวิชาเอกเลือกดังต่อไปนี้ 9 หน่วยกิต
MS02211

ประวัติดนตรีพื้นบ้าน

History of Isan Music

3(3-0-6)

MS02212

เครื่องกำกับจังหวะอีสาน

Isan Rhythm Instrument

3(2-2-5)

MS02213

ขับร้องเพลงพื้นบ้านอีสาน

Isan Singing

3(1-4-4)
  • ให้นักศึกษาเลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือกต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต
MS02080

การขับร้องประสานเสียง 3

Choir 3

1(0-2-1)
MS02081

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 4

Western Music Theory 4

3(3-0-6)

MS02082

สุนทรียศาสตร์ทางดนตรี

Aesthetics of Music

3(3-0-6)
MS02083

การประพันธ์เพลง 2

Music Composition 2

3(2-2-5)
MS02084

ดนตรีศตวรรษที่ 21st

Twenty-first Century Music

3(3-0-6)
MS02085

การซ่อมและบำรุงรักษาเครื่องดนตรี

Music Instrumental Maintenance and Repair

3(2-2-5)
MS02086

การสอดทำนอง

Counterpoint

3(3-0-6)
MS02087

โยธวาทิต

Marching Band

3(2-2-5)
MS02088

ดนตรีแจ๊ส

Jazz Music

3(2-2-5)
MS02160

ประวัติดนตรีไทย

History of Thai traditional Music

2(2-0-4)
MS02161

เครื่องสายไทยเบื้องต้น

Fundamental Thai Traditional Strings

2(0-4-2)
MS02311

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์

Electronic acoustic Music

3(2-2-5)
MS02410

การศึกษาดนตรีอิสระ

Independent Study

2(1-2-3)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

อาจารย์ผู้สอน

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส  
รหัสหลักสูตร 25481691102712
ภาษาไทย ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Fine Arts Program in Performing

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปบัณฑิต (ศิลปะการแสดง)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศล.บ. (ศิลปะการแสดง)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Fine Arts (Performing Arts)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.F.A. (Performing Arts)

 

ปรัชญา

ผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถด้านศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้านอีสาน นาฏศิลป์สากล และการจัดการแสดง

 

วัตถุประสงค์

เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ดังนี้

  1. มีความรู้ ความสามารถในการเป็นผู้นำท้องถิ่นในการอนุรักษ์ และสร้างสรรค์ นาฏศิลป์พื้นเมือง โดยสืบสานวัฒนธรรมประเพณี จารีต ขนบธรรมเนียมของวัฒนธรรมอีสาน ซึ่งดำรงไว้ในเอกลักษณ์ดั้งเดิมของนาฏศิลป์อีสาน เป็นผู้นำการจัดงานประเพณีท้องถิ่น การวางแผน และการกำหนดรูปแบบงานการสร้างสรรค์งานแสดง
  2. สามารถพัฒนาตนเอง มีความเข้าใจในกระบวนงานด้านศิลปะการแสดง สามารถพัฒนาระบบทำงาน มีความสามารถทำงานเป็นทีม วางแผนงาน และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ในการประกอบอาชีพด้านการแสดง วิเคราะห์ หาเหตุผล นำไปสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดคุณค่าอย่างแท้จริง
  3. มีความสามารถในการเรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่นในองค์กร สังคม ชุมชน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลอื่น เป็นผู้นำที่ดี นำประสบการณ์ในการทำงานมาพัฒนางานของตนและองค์กร
  4. มีความสามารถนำเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาประยุกต์ใช้ในศิลปะการแสดง เพื่อให้ทันยุคทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี โดยสามารถเลือกรูปแบบได้อย่างเหมาะสม
  5. มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ สามารถดำรงชีวิตอยู่กับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น นำนาฏศิลป์ซึ่งเป็นวัฒนธรรมประจำชาติ มีบทบาทต่อการดำรง ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ไปพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมต่อสังคมและองค์กร
  6. มีทักษะการปฏิบัติด้านศิลปะการแสดง ด้านนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง นาฏศิลป์สากล นาฏศิลป์ร่วมสมัย และด้านการจัดการแสดง

 

ระบบการศึกษา

 การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษามีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ต่อหนึ่งภาคการศึกษา และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8  สัปดาห์

 

รูปแบบ

  1. ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์
  2. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

 

ระยะเวลาการศึกษา

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนกรกฎาคม – เดือนตุลาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนมีนาคม
ภาคฤดูร้อน เดือนเมษายน – เดือนมิถุนายน

ใช้เวลาในการศึกษาไม่เกิน 8 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา และไม่เกิน 12 ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับภาคการศึกษาฤดูร้อน หากต้องลงทะเบียนเรียนนอกเหนือจากนี้ ให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2548 หมวด 6

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้

  1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต
  2. หมวดวิชาเฉพาะ 86  หน่วยกิต
    • วิชาแกน   7  หน่วยกิต
    • วิชาเฉพาะด้าน 12  หน่วยกิต
    • วิชาเอก 57  หน่วยกิต  
    • วิชาศิลปนิพนธ์   5  หน่วยกิต  
    • วิชาฝึกประสบการณ์ภาคสนาม   5  หน่วยกิต   
  3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า   6  หน่วยกิต

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 86 หน่วยกิต

     2.1) วิชาแกน 7 หน่วยกิต

PD01101

ประวัติการละครไทย

History of Thai Lakorn

2(1-2-3)

PF01102

ประวัติศิลปะการแสดงตะวันตกและตะวันออก

History of Western and Oriental Performing Arts

2(1-2-3)

PF01103

สุนทรียทางศิลปะการแสดง

Aesthetics of Drama

2(1-2-3)

PF01104

สัมมนาศิลปะการแสดง

Seminar  on  Performing  Arts

1(1-0-2) 

     2.2) วิชาเฉพาะด้าน 12 หน่วยกิต

PF02101

จารีตนาฏศิลป์ไทย

Thai  Dancing  Rituals  and  Etiquette

1(1-0-2)

PF02102

ทฤษฎีการวิเคราะห์และการวิจารณ์การแสดง

Theory of Performing Arts Analysis

1(1-0-2)

PF02103

นาฏยประดิษฐ์  1

Choreograhphy 1

2(1-2-3)

PF02104

นาฏยประดิษฐ์  2

Choreograhphy 2

2(1-2-3)

PF02105

ธุรกิจการแสดง

Business Performing

1(1-0-2)

PF02105

การวิจัยทางศิลปะการแสดง

Research on Performance  Arts

3(2-2-5)

PF02105

หมอลำศึกษา

Mor Lao – Study

2(1-2-3)

     2.3) วิชาเอก 57 หน่วยกิต

             2.3.1) กลุ่มวิชาเอกบังคับ 37 หน่วยกิต

PF03101

เพลงช้า – เพลงเร็ว

Pleng Cha and Pleng Reo dance

2(1-2-3)

PF03102

รำแม่บท

Ram Mae Bot

2(1-2-3)

PF03103

เทคโนโลยีเพื่อการแสดง

Technology for Performance

2(1-2-3)

PF03104

ระบำไทยมาตรฐาน

Thai Classical Dancing

2(1-2-3)

PF03105

วรรณกรรมการละครไทยเพื่อการแสดง

Thai Drama Literature for Performance

1(1-0-2)

PF03106

งานเวทีและโรงละคร

Scene and Stage Designing

2(1-2-3)

PF03107

การใช้สรีระสำหรับศิลปะการแสดง

Using physiology for performance

1(1-0-2)

PF03108

การออกแบบและประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย

Costume and Prop Making

2(1-2-3)

PF03109

โขนและการละเล่นของหลวง

Khon and Royal activities

2(1-2-3)

PF03110

รำเดี่ยว-รำคู่

Mono-Duo Dancing

3(2-2-5)

PF03111

อาศรมศึกษาด้านศิลปะการแสดง

Thai Performing Arts Study

2(1-2-3)

PF03112

ละครเวที

Stage Play

2(1-2-3)

PF03113

รำหน้าพาทย์

Na – Pat Dance

2(1-2-3)

PF03114

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปะการแสดง 1

English for Performing Arts l

2(1-2-3)

PF03115

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปะการแสดง 2

English for Performing Arts ll

2(1-2-3)

PF03116

การจัดการศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

Local Art and Culture Management

2(1-2-3)

PF03117

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับการแสดง

Law of the Intellectual Property Rights for Performance

1(1-0-2)
PF03201

พื้นฐานนาฏศิลป์อีสาน

Basic Isan Dance

2(1-2-3)

PF03202

ประวัติการแสดงหมอลำ

History  of  Mor Lam

1(1-0-2)

PF03203

นาฏศิลป์พื้นเมืองจังหวัดอุดรธานี

Udon Thani Folk Dance

2(1-2-3)

             2.3.2) กลุ่มวิชาเอกเลือก 20 หน่วยกิต

PF03118

บัลเล่ต์

Ballet

2(1-2-3)

PF03119

การแต่งกายและการแต่งหน้า

Costume Design and Make-up Design

2(1-2-3)

PF03120

แจ๊สแดนซ์

Pottery Design

2(1-2-3)

PF03121

ระบำโบราณคดี

Archeology Dance

2(1-2-3)

PF03122

ดนตรีและเพลงสำหรับการแสดง

Music and Song for Performance

2(1-2-3)

PF03123

นาฏศิลป์อาเซียน

ASEAN Dance

2(1-2-3)

PF03124

การแสดงนาฏศิลป์เบ็ดเตล็ด

Miscellaneous Dance Performances Study

2(1-2-3)

PF03204

นาฏศิลปาชีพอีสาน

Isan Occupational Dance

2(1-2-3)

PF03205

ศิลปะการแสดงหางเครื่อง

Dances Performing Arts

2(1-2-3)

PF03206

นาฏศิลป์ชนเผ่าอีสาน

Isan Tribal Dancing

2(1-2-3)

PF03207

การแสดงพื้นเมืองอีสานใต้

Southern Isan Folk Dance

2(1-2-3)

PF03208

การแสดงพื้นเมืองอีสานเหนือ

North Isan Folk Dance

2(1-2-3)

PF03209

นาฏศิลป์อีสานถิ่นลุ่มน้ำโขง

Isan Folk Dance Along the Mekong Basins

2(1-2-3)

     2.4) วิชาศิลปนิพนธ์ 5 หน่วยกิต

PF03301

การสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะการแสดง

Creating Performing Art Project

5(2-6-7)

     2.5) ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 5 หน่วยกิต

PF03401

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านศิลปะการแสดง

Performing Arts Internship

5(720)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

ให้นักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่ที่เรียนมาแล้ว และต้องไปไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นักหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

9

วิชาแกน

PF01101

ประวัติการละครไทย

2(1-2-3)

วิชาเฉพาะด้าน

PF02101

จารีตนาฏศิลป์ไทย

1(1-0-2)

วิชาเอก

PF03101

เพลงช้า – เพลงเร็ว

2(1-2-3)

PF03201

พื้นฐานนาฏศิลป์อีสาน

2(1-2-3)

PF03202

ประวัติการแสดงหมอลำ

1(1-0-2)

รวม

17

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาแกน

PF01102

ประวัติศิลปะการแสดงตะวันตกและตะวันออก

2(1-2-3)

วิชาเฉพาะด้าน

PF02201

หมอลำศึกษา

2(1-2-3)

วิชาเอก

PF03102

รำแม่บท

2(1-2-3)

PF03203

นาฏศิลป์พื้นเมืองจังหวัดอุดรธานี

2(1-2-3)

PF03103

เทคโนโลยีเพื่อการแสดง

2(1-2-3)

วิชาเอกเลือก

PFxxxxx

 

2

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาแกน

PF01103

สุนทรียทางศิลปะการแสดง

2(1-2-3)

วิชาเอก

PF03104

ระบำไทยมาตรฐาน

2(1-2-3)

PF03105

วรรณกรรมการละครไทยเพื่อการแสดง

1(1-0-2)

PF03106

งานเวทีและโรงละคร

2(1-2-3)

วิชาเอกเลือก

PFxxxxx

 

6

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

วิชาเฉพาะด้าน

PF02102

ทฤษฎีการวิเคราะห์และการวิจารณ์การแสดง

1(1-0-2)

วิชาเอก

PF03107

การใช้สรีระสำหรับศิลปะการแสดง

1(1-0-2)

PF03108

การออกแบบและประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย

2(1-2-3)

วิชาเอกเลือก

PFxxxxx

 

6

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2 – 3

รวม

18-19

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GExxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

3

วิชาแกน

PF01104

สัมมนาศิลปะการแสดง

1(1-0-2)  

วิชาเฉพาะด้าน

PF02103

นาฏยประดิษฐ์  1

2(1-2-3)

วิชาเอก

PF03109

โขนและการละเล่นของหลวง

2(1-2-3)

PF03110

รำเดี่ยว-รำคู่

2(1-2-3)

วิชาเอกเลือก

PFxxxxx

 

2

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2 – 3

รวม

14-15

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาเฉพาะด้าน

PF02104

นาฏยประดิษฐ์  2

2(1-2-3)

PF02105

ธุรกิจการแสดง

1(1-0-2)

วิชาเอก

PF03111

อาศรมศึกษาด้านศิลปะการแสดง

3(2-2-5)

PF03112

ละครเวที

2(1-2-3)

ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

PF03401

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพด้านศิลปะการแสดง

5(720)

วิชาเอกเลือก

PFxxxxx

 

2

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาเฉพาะด้าน

PF02106

การวิจัยทางศิลปะการแสดง

3(2-2-5)

วิชาเอก

PF03113

รำหน้าพาทย์

2(1-2-3)

PF03114

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปะการแสดง 1

2(1-2-3)

วิชาศิลปนิพนธ์

PF03301

การสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะการแสดง 

5(2-6-7)

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

2 – 3

รวม

14-15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาเอก

PF03115

ภาษาอังกฤษสำหรับศิลปะการแสดง 2

2(1-2-3)

PF03116

การจัดการศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

2(1-2-3)

PF03117

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับการแสดง

1(1-0-2)

วิชาเอกเลือก

PFxxxxx

 

2

รวม

7

 

อาจารย์ผู้สอน

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 1021
รหัสหลักสูตร 25481691101384
ภาษาไทย ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์
ภาษาอังกฤษ Bachelor  of  Fine Arts Program in Product

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปบัณฑิต (ออกแบบผลิตภัณฑ์)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศล.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Fine Arts (Product Design)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.F.A. (Product Design)

 

ปรัชญา

มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มีคุณธรรม จริยธรรม บูรณาการศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างสรรค์งานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ

 

วัตถุประสงค์

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มีวัตถุประสงค์ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะดังนี้

  1. มีความรอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและการออกแบบและความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ตลอดจนมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ สามารถค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่างเป็นระบบ
  2. มีความสามารถในการศึกษาค้นคว้า การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ประเมินผลและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน สามารถบูรณาการความรู้ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับศาสตร์สากลเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
  3. มีภาวะความเป็นผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4. มีความสามารถในการสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ตลอดจนมีสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการออกแบบสร้างสรรค์และการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้างและยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสาและจิตสำนึกสาธารณะ
  6. มีความสามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ในการสร้างสรรค์ผลงานอย่างเหมาะสม

 

ระบบการศึกษา

 การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษามีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ต่อหนึ่งภาคการศึกษา และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8  สัปดาห์

 

รูปแบบ

  1. ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์
  2. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยกำหนดระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 134  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต
      1) ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 6 หน่วยกิต
      2) ความดีงามแห่งชีวิต 6 หน่วยกิต
      3) วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย 6 หน่วยกิต
      4) รู้ทันโลกดิจิทัล 3 หน่วยกิต
      5) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
      6) ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 3 หน่วยกิต
      7) ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 3 หน่วยกิต
    2. หมวดวิชาเฉพาะ 88  หน่วยกิต
      1) วิชาแกน 5 หน่วยกิต
      2) วิชาเฉพาะด้าน 12 หน่วยกิต
      3) วิชาเอก 81 หน่วยกิต
      • กลุ่มวิชาเอกบังคับ 54 หน่วยกิต
      • กลุ่มวิชาเอกเลือก 27 หน่วยกิต
    3. หมวดวิชาเลือกเสรี   ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
  3. รายวิชา หลักเกณฑ์การใช้รหัสวิชาในหลักสูตร ให้มีรหัสจำนวน 7 ตำแหน่ง ประกอบด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ 2 ตำแหน่ง และตัวเลข 5 ตำแหน่ง โดยมีความหมายดังนี้

ตัวอักษร PD เป็นหลักสูตร หรือ สาขาวิชา
เลขตัวที่ 3-4 เป็นหมวดวิชา หรือ กลุ่มวิชา
01 วิชาแกน
02 วิชาเฉพาะด้าน
03 วิชาเอกออกแบบผลิตภัณฑ์
04 วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการสัมมนา
05 วิชาวิจัยและศิลปะนิพนธ์
06 กลุ่มวิชาเลือกออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
07 กลุ่มวิชาเลือกคอมพิวเตอร์กราฟิก
08 กลุ่มวิชาเลือกออกแบบแฟชั่น
เลขตัวที่ 5  เป็นชั้นปี หรือ ความยากง่าย
เลขตัวที่ 6-7  เป็นลำดับก่อน-หลัง ของวิชา

 

1)  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หน่วยกิต 

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น  

King’s Philosophy for Local Development

6(3-6-9)

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต Virtue of Life

6(3-6-9)

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

Science and Contemporary Issues

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

Digital literacy

3(2-2-5)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

Thai for Communication

3(2-2-5)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน 

English for Life and Work

3(2-2-5)

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้ 

English in Use

3(2-2-5)

2)  หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 98 หน่วยกิต

     2.1) วิชาแกน 5 หน่วยกิต

PD01101

ประวัติศาสตร์ศิลปะและวิวัฒนาการออกแบบ

History of Arts and Evolution of Design

3(3-0-6)

PD01202

ภาษาอังกฤษในงานศิลปะและการออกแบบ

English for Arts and Design

2(2-0-4)

     2.2) วิชาเฉพาะด้าน 12 หน่วยกิต

PD02101

พื้นฐานการออกแบบ

Fundamentals of Design

3(2-2-5)

PD02102

การวาดเส้นพื้นฐาน

Basic Drawing

3(1-3-5)

PD02203

คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบงาน 2 มิติ

Computer-aided in 2 Dimensions Design

2(1-3-3)

PD02204

คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเขียนแบบ

Computer-aided in Working Drawing

2(1-3-3)

PD02205

คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบงาน 3 มิติ

Computer-aided in 3 Dimensions Design

2(1-3-3)

     2.3) วิชาเอก 81 หน่วยกิต

             2.3.1) กลุ่มวิชาเอกบังคับ 54 หน่วยกิต

PD03101

การเขียนแบบในงานออกแบบผลิตภัณฑ์

Drawing in Product Design

3(1-3-5)

PD03102

เทคนิคการนำเสนอผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์

Presentation Techniques in Product Design

3(1-3-5)

PD03103

ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ

Creative Thinking for Design

3(2-2-5)

PD03104

หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์

Principles of Product Design

3(2-2-5)

PD03205

กายศาสตร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์

Ergonomics for Product Design

3(2-2-5)

PD03206

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก

Souvenir and Gift Design

3(2-2-5)

PD03207

หลักการถ่ายภาพสำหรับงานออกแบบ

Principles of Photography for Design

3(2-2-5)

PD03208

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของใช้และของตกแต่ง

Decoration Product Design

3(2-2-5)

PD03209

ธุรกิจงานออกแบบผลิตภัณฑ์

Business Product Design

3(2-2-5)

PD03310

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของเล่น

Toys Design

3(2-2-5)

PD03311

การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน

Community Product Design

3(2-2-5)

PD03412

การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับมวลชน

Universal Product Design

3(2-2-5)

PD03413

การออกแบบผลิตภัณฑ์นวัตกรรม

Innovative Product Design

3(2-2-5)

PD04301

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพงานออกแบบผลิตภัณฑ์

Practical Work in Product Design

3(350)

PD04402

สัมมนาการออกแบบผลิตภัณฑ์

Seminar on Product Design

2(1-2-3)

PD05301

หลักการวิจัยงานออกแบบผลิตภัณฑ์

Principles of Research for Product Design

3(2-2-5)

PD05402

การเตรียมศิลปนิพนธ์

Preparation for Art Thesis

1(0-2-1)

PD05403

ศิลปนิพนธ์

Art Thesis

6(0-12-6)

             2.3.2) กลุ่มวิชาเอกเลือก 27 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มวิชาใดกลุ่มวิชาหนึ่งหรือหลายกลุ่มวิชารวมกันไม่น้อยกว่า 27 หน่วยกิต

  • กลุ่มวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม

PD06101

การออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่และหวาย

Bamboo and Rattan Product Design

3(2-2-5)

PD06202

การออกแบบผลิตภัณฑ์เอกลักษณ์ไทย

Product Design in Thai Identity

3(2-2-5)

PD06203

การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา

Pottery Design

3(2-2-5)

PD06304

การออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นถิ่น

Local Craft Product Design

3(2-2-5)

PD06305

ออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้

Wood Product Design

3(2-2-5)

PD06306

ออกแบบผลิตภัณฑ์หนัง

Leather Product Design

3(2-2-5)

PD06407

ออกแบบเครื่องประดับ

Jewelry Design

3(2-2-5)

PD06408

ออกแบบผลิตภัณฑ์โลหะ

Metal Product Design

3(2-2-5)

PD06409

ออกแบบผลิตภัณฑ์แก้ว

Glass Product Design

3(2-2-5)

  • กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก

PD07101

หลักการออกแบบกราฟิก

Principles of Graphic Design

3(2-2-5)

PD07202

วัสดุและกระบวนการผลิตในงานออกแบบกราฟิก

Materials and Processes in Graphic Design

3(2-2-5)

PD07203

การออกแบบสิ่งพิมพ์

Printing Design

3(2-2-5)

PD07304

การออกแบบบรรจุภัณฑ์

Packaging Design

3(2-2-5)

PD07305

การออกแบบเว็บไซต์และแอพพลิเคชั่น

Website and Application Design

3(2-2-5)

PD07306

การออกแบบวิดิทัศน์ดิจิทัล

Digital Video Design

3(2-2-5)

PD07407

การออกแบบแอนิเมชั่นและภาพเคลื่อนไหว

Animation and Motion Graphic Design

3(2-2-5)

PD07408

คอมพิวเตอร์สามมิติขั้นสูงสำหรับงานกราฟิก

Advanced Computer 3D for Graphic Design

3(2-2-5)

PD07409

การออกแบบกราฟิกอัตลักษณ์สินค้า

Brand Identity Graphic Design

3(2-2-5)

  • กลุ่มวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

PD08101

หลักการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

Principles of Fashion and Textile Design

3(2-2-5)

PD08202

วัสดุในออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

Materials for Fabric and Fashion Design

3(2-2-5)

PD08203

คอมพิวเตอร์ในงานออกแบบแฟชั่น

Computer-aided in Fashion Design

3(2-2-5)

PD08304

การออกแบบตัดเย็บเสื้อผ้าพื้นฐาน

Basic Dressmaking

3(2-2-5)

PD08305

การออกแบบผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

Textile Product Design

3(2-2-5)

PD08306

เทคนิคการสร้างสรรค์เสื้อผ้าชั้นสูง

Advanced Dressmaking

3(2-2-5)

PD08407

ออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องตกแต่งในงานแฟชั่น

Decorations Design in Fashion Design

3(2-2-5)

PD08408

การออกแบบแฟชั่นจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

Fashion Design from Local Wisdom

3(2-2-5)

PD08409

การออกแบบแฟชั่นเชิงพาณิชย์

Commercial in Fashion Design

3(2-2-5)

3)  หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

     ให้เลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอน ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีโดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD01101

ประวัติศาสตร์ศิลปะและวิวัฒนาการออกแบบ

3(3-0-6)

PD02101

พื้นฐานการออกแบบ

3(2-2-5)

PD02102

การวาดเส้นพื้นฐาน

3(1-3-5)

PD03101

การเขียนแบบในงานออกแบบผลิตภัณฑ์

3(1-3-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD03102

เทคนิคการนำเสนอผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์

3(2-2-5)

PD03103

ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ

3(1-3-5)

PD03104

หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD02203

คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบงาน 2 มิติ

2(1-3-3)

PD02204

คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเขียนแบบ

2(1-3-3)

PD03205

กายศาสตร์เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์

3(2-2-5)

PD03206

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

3

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD01202

ภาษาอังกฤษในงานศิลปะและการออกแบบ

2(2-0-4)

PD02205

คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบงาน 3 มิติ

2(1-3-3)

PD03207

หลักการถ่ายภาพสำหรับงานออกแบบ

3(2-2-5)

PD03208

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่ง

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

3

รวม

19

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GEXXXXX

เลือกเรียนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

6

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD03311

การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน

3(2-2-5)

PD03310

การออกแบบผลิตภัณฑ์ของเล่น

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

3

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเส

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD03309

ธุรกิจงานออกแบบผลิตภัณฑ์

3(2-2-5)

PD03312

การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับมวลชน

3(2-2-5)

PD05301

หลักการวิจัยงานออกแบบผลิตภัณฑ์

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

6

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD03413

การออกแบบผลิตภัณฑ์นวัตกรรม

3(2-2-5)

PD04402

สัมมนาการออกแบบผลิตภัณฑ์

2(1-2-3)

PD05402

การเตรียมศิลปนิพนธ์

1(0-2-1)

PD04301

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพงานออกแบบผลิตภัณฑ์

3(450)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

6

เลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี

 

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

เฉพาะด้าน

วิชาเอกบังคับ

PD05403

ศิลปนิพนธ์

6(0-12-6)

วิชาเอกเลือก

PDxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเฉพาะด้าน (วิชาเอกเลือก)

3

รวม

19

 

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 9 และหมวด 10 (ภาคผนวก ค)
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 134 หน่วยกิต

 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
  2. คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 หมวด 5 (ภาคผนวก ค)

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. นักออกแบบผลิตภัณฑ์ นักออกแบบกราฟิก นักออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ
  2. นักออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน (Young Startup-OTOP Designer)
  3. ครู นักวิชาการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานภาครัฐ
  4. นักออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในองค์กรเอกชน
  5. นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
  6. เป็นผู้ประกอบการธุรกิจ เจ้าของกิจการเกี่ยวกับออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์

 

อาจารย์ผู้สอน

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ ระดับปริญญาตรี

รหัสและชื่อหลักสูตร

รหัส 1278
รหัสหลักสูตร  
ภาษาไทย หลักสูตรศิลปบัณฑิต  สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
ภาษาอังกฤษ Bachelor  of  Fine  Arts  Program Visual  Arts and  Design

 

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ไทย) ศิลปบัณฑิต (ทัศนศิลป์และการออกแบบ)
ชื่อย่อ  (ไทย) ศล.บ. (ทัศนศิลป์และการออกแบบ)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Fine Arts (Visual Arts and Design)
ชื่อย่อ  (อังกฤษ) B.F.A. (Visual Arts and Design)

 

ปรัชญา

ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในแขนงวิชาทัศนศิลป์และออกแบบบนพื้นฐานของคุณธรรม  จริยธรรม  สามารถนำความรู้และทักษะด้านทัศนศิลป์และออกแบบ  เพื่อไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตในวิชาชีพของตนเองได้ให้เหมาะและสามารถสร้างสรรค์ปัญญาเชิงบูรณาการศาสตร์สู่ท้องถิ่น

 

วัตถุประสงค์

  1. มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติสามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม
  2. มีความรู้ ความสามารถทางด้านทัศนศิลป์และออกแบบ โดยนำความรู้ทักษะการสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาท้องถิ่นและสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์และออกแบบนิเทศศิลป์อย่างต่อเนื่อง
  3. สามารถนำความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาทางด้านทัศนศิลป์และออกแบบ  ได้อย่างเหมาะสม วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีวิจารณญาณ
  1. มีความรับผิดชอบต่อการทำงานและการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนและทำงานร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุขทางวิชาชีพ
  2. ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถด้านทัศนศิลป์และออกแบบ เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

 

ระบบการจัดการศึกษา

บริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรศิลปบัณฑิต  สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบหลักสูตรปรับปรุง  พ.ศ.  2564

  1. ระบบ

การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาคโดยหนึ่งปีการศึกษา แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ  มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า15  สัปดาห์ และอาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลา  ไม่น้อยกว่า  8  สัปดาห์

  1. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การจัดการเรียนการสอนภาคเรียนฤดูร้อน  ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรศิลปบัณฑิต  สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ  อาจจัดให้มีภาคฤดูร้อน  โดยกำหนดระยะเวลา  ไม่น้อยกว่า  8  สัปดาห์

  1. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

ไม่มี

 

ระยะเวลาการศึกษา

เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาศิลปกรรมศาสตร์  พ.ศ. 2558

  1. ภาคการศึกษาที่  1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์
  3. ภาคฤดูร้อน (ถ้ามี)เดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม

ใช้เวลาการศึกษาไม่เกิน  8  ปีการศึกษา  สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและไม่เกิน  12  ปีการศึกษา สำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา

 

การลงทะเบียนเรียน

  1. จำนวนหน่วยกิตการลงทะเบียนเรียน

    ให้ลงทะเบียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน 9 หน่วยกิต สำหรับการศึกษาภาคการศึกษาฤดูร้อน  หากต้องลงทะเบียนนอกเหนือจากนี้ให้เป็นไปตามข้อบังคับ  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2561 หมวด 6 (ภาคผนวก  ค)

  2. ระยะเวลาการลงทะเบียนเรียน

    ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี  ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี  พ.ศ.2561หมวด 6 (ภาคผนวก  ค)

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

 

โครงสร้างหลักสูตร

  1. จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 128  หน่วยกิต
  2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็น 3 หมวดวิชาซึ่งสอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดังนี้
    • หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
    • หมวดวิชาเฉพาะด้าน 92 หน่วยกิต
      1. วิชาแกน 27 หน่วยกิต
      2. วิชาเอก 65 หน่วยกิต
        ให้นักศึกษาเลือกจาก 2 แขนง
        1. แขนงวิชาทัศนศิลป์
          • วิชาเอกบังคับ 50 หน่วยกิต
          • วิชาเอกเลือก 15 หน่วยกิต
        2. แขนงวิชาออกแบบนิเทศศิลป์
          • วิชาเอกบังคับ 50 หน่วยกิต
          • วิชาเอกเลือก 15 หน่วยกิต
      3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต

 

แผนการศึกษา

  1. แผนการศึกษา แขนงวิชาทัศนศิลป์

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

3(2-2-5)

วิชาแกน

FA21001

ประวัติศาสตร์ศิลป์และการอกแบบ

3(3-0-6)

FA21002

การวาดเส้นเบื้องต้น

3(2-2-5)

FA21004

องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น

3(2-2-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต

6(3-6-9)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

3(2-2-5)

วิชาแกน

     

วิชาเอกบังคับ

FA22103

องค์ประกอบศิลป์ 1

3(2-2-5)

FA22501

การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 1

3(1-4-4)

FA24001

จิตรกรรม

3(2-2-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

6(3-6-9)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน

3(2-2-5)

วิชาแกน

FA21003

ทฤษฎีสี

3(2-2-5)

FA21008

เทคนิคสีน้ำ

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA22104

องค์ประกอบศิลป์ 2

3(2-2-5)

FA22502

การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 2

3(1-4-4)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้

3(2-2-5)

วิชาแกน

FA21009

การวาดภาพทิวทัศน์

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA22503

การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 3

3(1-4-4)

FA24002

ประติมากรรม

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 2  วิชา

6

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาแกน

FA21011

ผลงานศิลปะในท้องถิ่น

3(2-2-5)

FA22201

สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์และการอกแบบ

3(3-0-6)

วิชาเอกบังคับ

FA22504

การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 4

3(1-4-4)

FA23201

การวาดเส้นสร้างสรรค์

3(2-2-5)

FA24003

ศิลปะภาพพิมพ์

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 1  วิชา

3

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี1  วิชา

3

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาเอกบังคับ

FA21013

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(480)

รวม

5

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาแกน

FA22410

ศิลปกรรมประชาคมอาเซียน

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA21014

ระเบียบวิธีวิจัยทางทัศนศิลป์

3(2-2-5)

FA22505

การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ 5

3(1-4-4)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 1 วิชา

3

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี1 วิชา

3

รวม

15

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาเอกบังคับ

FA21012

สัมมนาทางทัศนศิลป์

3(2-2-5)

FA21015

ศิลปนิพนธ์

6(2-8-8)

วิชาเอกเลือก

xxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 1  วิชา

3

รวม

12

 

  1. แผนการศึกษา  แขนงวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE11001

ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

6(3-6-9)

GE33002

รู้ทันโลกดิจิทัล

3(2-2-5)

วิชาแกน

FA21001

ประวัติศาสตร์ศิลป์และการอกแบบ

3(3-0-6)

FA21002

การวาดเส้นเบื้องต้น

3(2-2-5)

FA21004

องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA23501

การออกแบบนิเทศศิลป์เบื้องต้น

3(2-2-5)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE22001

ความดีงามแห่งชีวิต

6(3-6-9)

GE44001

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA21005

จิตรกรรมพื้นฐาน

3(2-2-5)

FA23306

เรขศิลป์

3(2-2-5)

FA23502

การออกแบบสัญลักษณ์และเครื่องหมาย

3(2-2-5)

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE33001

วิทยาศาสตร์และประเด็นร่วมสมัย

6(3-6-9)

GE44002

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและการทำงาน

3(2-2-5)

วิชาแกน

FA21003

ทฤษฏีสี

3(2-2-5)

FA21008

เทคนิคสีน้ำ

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA21006

ประติมากรรมพื้นฐาน

3(2-2-5)

FA23503

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์

3(2-2-5)

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป

GE44003

ภาษาอังกฤษเพื่อการนำไปใช้

3(2-2-5)

วิชาแกน

FA21009

การวาดภาพทิวทัศน์

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA21007

ศิลปะภาพพิมพ์พื้นฐาน

3(2-2-5)

FA23504

การออกแบบโฆษณา

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 1  วิชา

3

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี 1  วิชา

3

รวม

18

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาแกน

FA21011

ผลงานศิลปะในท้องถิ่น

3(2-2-5)

FA22201

สุนทรียภาพทางทัศนศิลป์และการออกแบบ

3(3-0-6)

วิชาเอกบังคับ

FA23505

การออกแบบแอนิเมชั่น 2 มิติ

3(2-2-5)

FA2350

การออกแบบบรรจุภัณฑ์

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 2  วิชา

6

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเลือกเสรี 1  วิชา

3

รวม

21

 

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาเอกบังคับ

FA21013

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5(480)

รวม

5

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาแกน

FA22410

ศิลปกรรมประชาคมอาเซียน

3(2-2-5)

วิชาเอกบังคับ

FA21014

ระเบียบวิธีวิจัยทางทัศนศิลป์

3(2-2-5)

FA23507

โครงงานการออกแบบนิเทศศิลป์

3(2-2-5)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 1  วิชา

3

รวม

12

 

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

จำนวนหน่วยกิต

วิชาแกน

วิชาเอกบังคับ

FA21012

สัมมนาทางทัศนศิลป์

3(2-2-5)

FA21015

ศิลปนิพนธ์

6(2-8-8)

วิชาเอกเลือก

xxxxxxx

เลือกเรียนในหมวดวิชาเอกเลือก 1  วิชา

3

รวม

12

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. บุคลากรทางการศึกษา
  2. บุคลากรฝ่ายศิลป์ทั้งภาครัฐและเอกชน
  3. ผู้ประกอบธุรกิจทางด้านศิลปะและการออกแบบ
  4. นักออกแบบสื่อโฆษณาชั้นนำทั้งในและต่างประเทศ
  5. นักออกแบบนิทรรศการและฉากการแสดง
  6. นักออกแบบกราฟิก  (Graphic Design)
  7. นักวาดภาพการ์ตูน  Comic และ Animator
  8. นักวาดภาพประกอบ
  9. นักออกแบบด้านศิลปะ
  10. นักวิชาการทางด้านศิลปะทั้งภาครัฐและเอกชน
  11. ศิลปิน

 

อาจารย์ผู้สอน